กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย Stroke ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วย Stroke ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย องค์การบริหารส่วนตำบลโละจูด อำเภอแว้ง จังหวัดนราธิวาส ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูด

นางจินตนาเลาะนะ

เขตรับผิดดชอบของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลโละจูด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหหมาย มีความรู้และตระหนักถึงการดูแลสุขภาพและการป้องกันตนเอง จากโรคหลอดเลือดสมองตีบแตก ซ้ำ รวมทั้งภาวะแทรกซ้อน

ผุ้ป่วยกลุ่มเป้าหมายมีความรู้ในเรื่องปัจจัยเสี่ยงที่ก่อให้เกิดโรคร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1.00 1.00
2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมาย มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากเดิมและเห็นคุณค่าของตนเองมากขึ้น

ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากเดิมและเห็นคุณค่าของตนเองมากขึ้น ร้อยละ 90 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1.00 1.00
3 เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของตนเองได้

ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1.00 1.00
4 เพื่อให้ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมรับการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมรับการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ร้อยละ 80 ของผู้เข้าร่วมกิจกรรม

1.00 1.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 50
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 08/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. กิจกรรมย่อยส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย Stroke ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

ชื่อกิจกรรม
1. กิจกรรมย่อยส่งเสริมสุขภาพผู้ป่วย Stroke ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าป้ายประชาสัมพันธ์โครงการ ขนาด 1.5 x2เมตร = 750 บาท
  • ค่าวิทยากรให้ความรู้ ชั่วโมงละ 600 บาท x 2 ชั่วโมง x 2 คน = 2,400 บาท
  • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 25 คน x 50 บาท = 1,250 บาท
  • ค่าเครื่องดื่มและอาหารว่าง จำนวน 25 คน คน x 30 บาท = 1,500 บาท
  • ค่าสมุนไพรการบูร 1 กิโล = 530 บาท
  • ค่าสมุนไพรเมนทอล 1 กิโล = 950 บาท
  • ค่าสมุนไพรพิมเสน 1 กิโล = 950 บาท
  • ค่าน้ำมันยูคาลิปตัส 1 ปอนด์ = 710 บาท
  • ค่าลูกบอลนวดมือ ฟื้นฟูสมรรถภาพมือ 38.4 x 25 ลูก = 960 บาท รวมเป็นเงิน  10,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
8 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เรื่องการดูแลตนเองจากโรค Stroke ด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย มากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายได้รับความรู้ในการปฏิบัติตัวและป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองตีบ แตก ซ้ำ รวมทั้งภาวะแทรกซ้อนจากโรคดังกล่าว
2. ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นจากเดิมและเห็นคุณค่าของตนเองมากขึ้น
3. ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมาย สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองให้สอดคล้องกับชีวิตประจำวันของตนเองได้
4. ผู้ป่วยกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมกิจกรรมรับการรักษาด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย


>