แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น รหัส กปท. L3405
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าขมิ้น
อาหารเป็นปัจจัยพื้นฐานสำคัญที่ใช้ในการดำรงชีวิตของมนุษย์ รวมทั้งอาหารยังกลายเป็นสินค้าส่งออกที่สำคัญแต่อาหารที่ขาดคุณภาพและไม่ปลอดภัยอาจกลายเป็นสาเหตุให้เกิดการสูญเสียทั้งในด้านสุขอนามัยของประชาชน และในด้านเศรษฐกิจ รวมทั้งภาพลักษณ์ของประเทศ ซึ่งที่ผ่านมาประเทศไทยยังคงต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ ที่มีสาเหตุมาจากความไม่ปลอดภัยด้านอาหาร แม้ว่าหลายภาคส่วนที่เกี่ยวข้องจะมีความพยายามในการนำมาตรฐานตามหลักสากลมาควบคุมการผลิตอาหารให้มีความปลอดภัยเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่ผู้บริโภคและตลาดส่งออกของประเทศไทย แต่ปัญหาความไม่ปลอดภัยด้านอาหารก็ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง ดังจะเห็นได้จากสถิติการเจ็บป่วย ข่าวสารทางสื่อต่าง ๆ รวมทั้งคำแจ้งเตือนจากประเทศต่าง ๆ ถึงความไม่ปลอดภัยของอาหารจากประเทศไทย
จากการดำเนินงานต่อเนื่องคุ้มครองผู้บริโภคในปี2565 ในตัวชี้วัดเรื่องอาหาร ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าขมิ้น ได้เก็บตัวอย่างอาหารส่งตรวจเพื่อค้นหารสารปนเปื้อนในอาหาร 5 ประเภท คือ สารกันราสารฟอกขาว สารบอแรกซ์และสารฟอร์มาลิน พบสารปนเปื้อนตกค้างในอาหารจากการสุ่มตรวจสารปนเปื้อนในอาหาร ทั้งหมดจำนวน 11 ตัวอย่าง ไม่พบสารปนเปื้อนในอาหาร ทั้ง 11 ตัวอย่าง คิดเป็น ร้อยละ 100กลุ่มเกษตรกรที่เสี่ยงต่อการพบสารเคมีในเลือด และเคยได้รับการเจาะเลือดตรวจสารเคมีในครั้งที่ 1 มาอบรมเพิ่ม ให้ครบตามเป้าหมายที่วางแผนไว้ พบว่า กลุ่มเสี่ยงทั้ง 90 คน ส่วนใหญ่ผลเลือดตรวจสารเคมีอยู่ในระดับปกติ ร้อยละ 91.11 รองลงมาอยู่ในปลอดภัย ร้อยละ 7.78 และกลุ่มเสี่ยง ร้อยละ 1.1ตามลำดับผู้ขายร้านชำจำหน่ายอาหารแผงลอย ยังขาดความรู้ความเข้าใจในงานคุ้มครองผู้บริโภคบางส่วน
ชมรมคุ้มครองผู้บริโภคตำบลท่าขมิ้น ได้เห็นความสำคัญของนโยบายอาหารปลอดภัยและเป็นการสนับสนุนการดำเนินงานกลุ่มเกษตรปลอดสารพิษตำบลท่าขมิ้นจึงได้จัดทำโครงการ อาหารปลอดภัย ร่างกายปลอดสารพิษปี 2566เพื่อเสริมสร้างความเข้มแข็งในการกำกับดูแลเฝ้าระวังอาหารที่ผลิตและบริโภคให้มีความปลอดภัยส่งเสริมให้ผู้ประกอบการมีความตั้งใจผลิตอาหารที่ดี มีคุณภาพ และผู้บริโภคได้บริโภคอาหารและเลือกซื้ออาหารที่มีความปลอดภัยต่อตนเองและครอบครัว มีการดำเนินงานอย่างเป็นรูปแบบของชมรมและยั่งยืน ประชาชนได้รับประโยชน์ทั้งต่อตนเอง ส่วนรวม ไม่เจ็บป่วยจากการมีสารเคมีกำจัดศัตรูพืชตกค้างในกระแสเลือดและเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม อาทิเช่น ดิน แม่น้ำ ของตำบลท่าขมิ้นและหมู่บ้านใกล้เคียง ซึ่งเป็นผลดีต่อประเทศชาติต่อไป
-
1. 1.1เพื่อให้ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารและประชาชนทั่วไปมีความรู้ในการเลือกซื้ออาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย 1.2 เพื่อให้ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีความรู้เรื่องอันตรายจากสารพิษ ยาฆ่าแมลงรู้วิธีป้องกันตนเองในขณะใช้ยาฆ่าแมลง 1.3 เพื่อให้เกษตรกรและประชาชนลดการใช้สารเคมีกำจัดแมลงและศัตรูพืช และใช้อย่างถูกต้องเหมาะสมตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. อบรมให้ความรู้แกนนำ อสม.และ อย.น้อยรายละเอียด
-ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม 1 มื้อx 50 บาท x 80 คนเป็นเงิน4,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม2 มื้อ x 25 บาท x 80 คน เป็นเงิน4,000 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาทเป็นเงิน3,600 บาท - ค่าน้ำยาตรวจโคลิฟอร์มแบคทีเรีย (SI2) จำนวน 100 ขวดๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท - ค่าชุดตรวจบอแรกซ์ในอาหาร(ผงกรอบ) (1ขวด 50 test) จำนวน 2 ขวดๆ ละ 220 บาทเป็นเงิน440บาท - ค่าชุดทดสอบกรดซาลิซิลิคในอาหาร(สารกันรา)(1ขวด50test)จำนวน 2 ขวดๆ ละ 250 บาทเป็นเงิน 500 บาท - ค่าชุดทดสอบโซเดียมไฮโดซัลไฟต์(สารฟอกขาว)(1ขวด100test)จำนวน 1ขวดๆละ 150 บาทเป็นเงิน 150บาท - ค่าชุดทดสอบฟอร์มาลิน จำนวน 20 ชุดๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน1,000บาท - ค่าชุดทดสอบสารโพลาร์ในน้ำมันทอดซ้ำ (1กล่อง25test) จำนวน 2 กล่องๆ ละ 950 บาทเป็นเงิน1,900 บาท - ค่าชุดทดสอบปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภค I-Kit (1 กล่อง 80 test) จำนวน 2 กล่องๆ ละ 250 บาท เป็นเงิน500 บาท - ค่าชุดทดสอบยาฆ่าแมลงแบบ OC KIT พร้อมอุปกรณ์(1กล่อง10test) จำนวน 5 กล่องๆละ 1,250 บาท เป็นเงิน6,250 บาท
งบประมาณ 24,840.00 บาท - 2. ตรวจสารพิษในเลือดของเกษตรกรและประชาชนทั่วไปรายละเอียด
- ค่ากระดาษทดสอบโคลีนเอสเตอเรส (1 ขวด 100 แผ่น) จำนวน 6 ขวดๆละ 675 บาท เป็นเงิน 4,050 บาท - ค่าแผ่นกระจก Slide ขนาด 2.5*7.5 ซม.( 1 กล่อง 80 แผ่น) จำนวน 5 กล่องๆละ 85 บาท เป็นเงิน 425 บาท - ค่าหลอดใส่เลือด Capillary Tube (1 ขวด 100 อัน) จำนวน 6 ขวดๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 900 บาท - ค่าถาดดินน้ำมัน Sigillum Wax Plate 24 ช่อง จำนวน 6 ถาดๆ ละ 150 บาท เป็นเงิน 900 บาท
งบประมาณ 6,275.00 บาท - 3. อบรมให้ความรู้เกษตรกรและประชาชนที่พบสารเคมีในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าร่วมอบรม 1 มื้อx 50 บาท x 100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมอบรม2 มื้อ x 25 บาท x 100 คน เป็นเงิน 5,000 บาท - สแตนดี้เกษตรกรสวมชุดป้องกันสารเคมี จำนวน 1 ตัว เป็นเงิน 1,950 บาท - ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 6.4 ค่าป้ายไวนิลอบรม ขนาด 1*3 เมตร จำนวน 1 ป้าย ป้ายละ 450 บาท เป็นเงิน 450 บาท 6.5 ค่าสแตนดี้ ความรู้ เรื่อง อาหารปลอดภัย และสารพิษตกค้างในเลือด จำนวน 4 ชุดๆ ละ 1,250 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
งบประมาณ 21,000.00 บาท - 4. ตรวจให้คำแนะนำแผงลอยจำหน่ายอาหารพร้อมทั้งตรวจ SI2 ( โคลิฟอร์มแบคทีเรีย )รายละเอียดงบประมาณ 0.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 10 ก.ค. 2568 ถึง 31 สิงหาคม 2566
ตำบลท่าขมิ้น
รวมงบประมาณโครงการ 52,115.00 บาท
7.1ผู้ประกอบการร้านชำ ร้านแผงลอยจำหน่ายอาหารและประชาชนทั่วไปสามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัยได้ 7.2ประชาชนกลุ่มเสี่ยงที่พบสารเคมีตกค้างในกระแสเลือดมีพฤติกรรมป้องกันตนเองในขณะใช้ยากำจัดวัชพืชและยาฆ่าแมลงเพิ่มมากขึ้น 7.3 การใช้สารเคมีในชุมชนกำจัดแมลงและศัตรูพืชลดน้อยลง เปลี่ยนมาใช้สารชีวภาพทดแทนมากขึ้น 7.4 แกนนำ อสม. และ อย.น้อย ในพื้นที่ มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะการตรวจหาสารปนเปื้อนในอาหาร สามารถเลือกบริโภคอาหารที่มีคุณภาพและปลอดภัย และนำความรู้ที่ได้ไปเผยแพร่ได้
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น รหัส กปท. L3405
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าขมิ้น รหัส กปท. L3405
อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................