กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ปีงบประมาณพ.ศ.2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลปะลุรู

กลุ่มสตรี เทศบาลตำบลปะลุรู

1 นางสาวอาซียะมุทานิ
2.นางสางสตรีสะมะแอ
3.นางสาวรอฮานามุทานิ
4.นางสีตีรอยะห์หะมะ
5.นางฮาบีบะห์รอนิง

เขตเทศบาลตำบลปะลุรู

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว , แผนงานผู้สูงอายุ , แผนงานขยะ , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟู ในสถานการณ์โควิด-19 , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัญหาสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ต้นไม้สูง โดยเฉพาะ โรคเรื้อรัง ยาเสพติด และโรคติดต่อที่สามารถป้องกันได้ด้วยตัวเอง นับว่าที่มีแนวโน้มที่จะทวีคูณเนื่องจากปัจจัยต่างๆ เช่น การบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง การออกกำลังที่น้อยลง อัตราการค้าขายยาเสพติด น้ำกระท่อมและบุหรี่ มีความอิสระเพิ่มขึ้น และอัตราขยะที่อาจจะเพิ่มขึ้น ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของหลายๆโรค เช่นโรคตาแดง โรคติดต่ออื่น อาจจะด้วยวิถีชีวิตของประชาชนที่เปลี่ยนแปลงไป และประชาชนยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการต่างๆ อาจจะส่งผลต่อการเกิดโรคต่าง เป็นต้น ดังนั้นชมรมสตรีเทศบาลตำบลปะลุรู ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาในชุมชน เพื่อให้ปัญหาต่างๆลดลง จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพชุมชน อารมณ์ดี ทุกชีวีมีสุข ปีงบประมาณพ.ศ.2567 อีกด้วย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเป็นการสร้างเสริมสุขภาวะร่างกายของประชาชน

กลุ่มเป้าหมายได้รับการการเสริมสุขภาวะร่างกาย ร้อยละ 80

100.00 100.00
2 เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค

กลุ่มเป้าหมายตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค ร้อยละ 80

100.00 100.00
3 เพื่อให้ประชาชนมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา

กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา ร้อยละ 80

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 20
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 20
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 20
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 31/07/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองกลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดอบรมตามโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย

ชื่อกิจกรรม
จัดอบรมตามโครงการแก่กลุ่มเป้าหมาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-บรรยายให้ความรู้ “การควบคุม พัฒนาพฤติกรรมเพื่อสุขภาพกายและจิตที่ดี”
-บรรยายให้ความรู้ “อาหารเพื่อสุขภาพและโภชนาการที่เหมาะสม” -อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับนวดแผนไทย กิจกรรมที่ 1 สุภาพดี ชีวีมีสุข 1.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน  * 25 บาท * 2 มื้อ รวม 2,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน * 50 บาท * 1 มื้อ เป็นเงิน  2,500 บาท 3.ค่าวิทยากร1 คน* 6 ชม..ละ 300
เป็นรวม 1,800 บาท กิจกรรมที่ 2 ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภค 1.ค่าอาหารว่าง จำนวน 50 คน * 25    บาท   2 มื้อ เป็นเงิน 2,500 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 50 คน * 50 บาท * 1 มื้อ รวม 2,500 บาท 3.ค่าวิทยากร1 คน 6 ชม..ละ 300
เป็นรวม 1,800 บาท 4.ค่าวัสดุอุปกรณ์
    ฟักทอง/ตำลึง/ไข่/ข้าวโพดอ่อน/ผักหวาน /บวบ/มะเขือยาว /กุ้งสด / ผักเลียง /ไข่ไก่ เป็นเงิน 1,400 บาท
สามารถถั่วเฉลี่ยได้

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. กลุ่มเป้าหมายได้รับการการเสริมสุขภาวะร่างกาย ร้อยละ 80
2. กลุ่มเป้าหมายตระหนักและเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพและการป้องกันโรค ร้อยละ 80
3.กลุ่มเป้าหมายมีสุขภาพร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันไม่พึงปรารถนา ร้อยละ 80


>