กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมป้องกันทันตสุขภาพในทุกกลุ่มวัย หมู่ที่ 1 – 4 และหมู่ที่ 8ตำบลดุซงญอ ประจำปีงบประมาณ 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ
3.
หลักการและเหตุผล

ฟันและอวัยวะในช่องปากเป็นด่านแรกของระบบย่อยอาหาร และมีความสำคัญสำหรับการติดต่อสื่อสารของผู้คนในสังคม ปัจจุบันพฤติกรรมการบริโภคของคนเปลี่ยนไป ในขณะที่ระบบบริการสุขภาพและระบบการพัฒนาคนยังไม่สามารปรับตัวรองรับให้ทันกับการเปลี่ยนแปลง ทำให้การเกิดโรคฟันผุ ในทุกกลุ่มวัย กรมอนามัยจากข้อมูลการสำรวจสภาวะสุขภาพช่อปากแห่งชาติครั้งที8พศ.2560เปรียบเทียบกับการสำรวจใน7 ครั้งที่ผ่านมา นับตั้งแต่การสำรวจสภาวะช่องปากแห่งชาติครั้งที่ 1 พศ.2503 พบว่าสภาวะสุขภาพช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลง โดยร้อยละของเด็กอายุ 5 ขวบ และ12 ปีที่มีฟันผุลดลงจากร้อยละ85.3และ52.9ในปีพ.ศ2537 เป็นร้อยละ75.6 และ520 ในปีพ.ศ2560เปิดเผยผลการสำรวจสุขภาพช่องปาก ในปี 2560 พบว่า สภาวะช่องปากของประชากรไทยมีแนวโน้มในภาพรวมดีขึ้น โดยความชุกชุกของโรคฟันผุในกลุ่มเด็กลดลงเด็กไทยโดยเฉลี่ยร้อยละ 50เป็นโรคฟันผุสูงสุดในเขตภาคใต้ร้อยละ 65 โดยเฉพาะใน 4 จังหวัดชายแดนภาคใต้ได้แก่ สงขลา ยะลา ปัตตานีและนราธิวาส ในปี 2560 กระทรวงสาธารณสุขได้รายงาน พื้นที่ 4 จังหวัดชายแดนใต้ เด็กและผู้สูงอายุเผชิญปัญหาโรคฟันสูงเป็นอันดับของประเทศ โดยเฉพาะจังหวัดนราธิวาส พบเด็กฟันผุถึงร้อยละ 80 ส่วนกลุ่มผู้สูงอายุโดยเฉลี่ยพบ 1 ใน 10ไม่มีฟันเคี้ยวอาหาร และพบว่ากว่าครึ่งยังไม่ได้รับการรักษาเนื่องจากอุปสรรคในการเดินทางและผลกระทบจากเหตุการณ์ความไม่สงบทำให้เกิดปัญหาเป็นโรคเหงือกอักเสบรุนแรงสูงถึงร้อยละ๙๑และมีโอกาสสูญเสียฟันทั้งปากเพิ่มขึ้น การสำรวจสภาวะทันตสุขภาพในเขตโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ อ.จะแนะ จ.นราธิวาส ในปี 2565 พบว่าเด็กอายุ0-5 ปี ฟันผุสูงถึงร้อยละ 62 .35เด็กอายุ6-12 ปี พบว่ามีปัญหาฟันถาวรผุร้อยละ 78 ซึ่งสูงกว่าเกณฑ์ที่กองทันสาธารณสุขกำหนด คือมีฟันถาวรผุไม่เกินร้อยละ 20 กลุ่มวัยทำงานและกลุ่มผู้สูงอายุเป็นกลุ่มที่พบปัญหาการสูญเสียฟันชัดเจน ในกลุ่มอายุ 13-59 ปีมีฟันถาวรผุร้อยละ ๗๕ การสูญเสียฟันในผู้สูงอายุมีค่าเฉลี่ยมากกว่า 10 ซี่/คน อาจกล่าวได้ว่าผู้สูงอายุเกือบทุกคนมีปัญหาการ บดเคี้ยวอาหาร การไม่มีฟันทั้งปาก เป็นดัชนีที่บ่งบอกถึงผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุอีกด้วย ซึ่งพบถึงร้อยละ 10.5 และจากข้อมูล ปี 2560 อัตราผู้ป่วย 10 อันดับแรก ของประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลดุซงญอ ประชาชนในโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบองอ พบว่าอัตราการป่วยจากโรคฟันผุเป็นโรคที่พบมากเป็นอันดับ 3 ร้อยละ51.78 อัตราต่อแสน

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัยมีความรู้เรื่องการดูแลทันตสุขภาพ สามารถดูแลตนเองและถ่ายทอดความรู้สู่การปฏิบัติได้อย่างถูกวิธี
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ประชาชนทุกกลุ่มวัย สามารถเข้าถึงบริการและได้รับบริการทันตกรรมบำบัดตามความจำเป็น ลดปัญหาฟันผุและเหงือกอักเสบ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 3. เพื่อให้แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 แกนนำอสม.และแม่อาสามีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพช่องปากของตนเองและสามารถนำความรู้ถ่ายทอดแนะนำผู้อื่นได้ถูกวิธี
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 4. เพื่อให้แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 แกนนำนักเรียนมีความรู้เรื่องการดูแลสุขภาพช่องปากสามารถดูแลสุขภาพตนเองและเป็นแกนนำด้านสุขภาพช่องปากในโรงเรียน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพช่องปากหญิงตั้งครรภ์รายใหม่
    รายละเอียด
    1. ค่าอุปกรณ์ฝึกแปรงฟันในหญิงตั้งครรภ์ จำนวน 80 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท
    งบประมาณ 4,000.00 บาท
  • 2. กิจกรรมที่ 2 ตรวจสุขภาพช่องปากเด็ก 0 – 5 ปี แกนนำนักเรียน
    รายละเอียด

    1.ค่าอุปกรณ์ฝึกแปรงฟันกลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียนจำนวน 200 ชุด ๆ ละ 50 บาท เป็นเงิน 10,000 บาท 2.ค่าวัสดุอุปกรณ์อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเด็กนักเรียนโรงเรียนนำร่องสุขภาพช่องปากสะอาดปราศจากฟันแท้ผุ จำนวน 30 ชุด ๆ ละ 80 บาท เป็นเงิน 2,400 บาท

    งบประมาณ 12,400.00 บาท
  • 3. กิจกรรมที่ 3 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับกลุ่มผู้สูงอายุ และผู้นำศาสนา
    รายละเอียด

    1 ค่าวัสดุอุปกรณ์ฝึกแปรงฟันในผู้สูงอายุ จำนวน 160 ชุด ๆ ละ 55 บาทเป็นเงิน 8,800 บาท
    2 ค่าเม็ดฟู่ทำความสะอาดฟันปลอม จำนวน 160 ชุด ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 19,200 บาท

    งบประมาณ 28,000.00 บาท
  • 4. กิจกรรมที่ 4 ตรวจสุขภาพช่องปากและฟันให้กับผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน
    รายละเอียด

    1 ค่าอุปกรณ์ดูแลสุขภาพช่องปากคนพิการ ผู้ป่วยติดเตียง ติดบ้าน จำนวน 11 ชุด ๆ ละ 120 บาท เป็นเงิน 1,320 บาท 2 ค่าจัดจ้างทำป้ายไวนิลโครงการขนาด 1*2 เมตร ๆ ละ 350 บาท เป็นเงิน 700 บาท

    งบประมาณ 2,020.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่1-4 และหมู่ที่ 8 ตำบลดุซงญอ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 46,420.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.กลุ่มหญิงตั้งครรภ์มีสุขภาพช่องปากที่ดีขึ้น ฟันผุและเหงือกอักเสบลดลง
2.กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน ฟันผุลดลงและผู้ปกครองสามารถแปรงฟันให้เด็ก ได้อย่างถูกต้อง 3. แกนนำ อสม.และแม่อาสาได้รับความรู้สามารถดูแลทันตสุขภาพตนเองและกระจายความรู้แก่เพื่อนบ้าน ได้ 4.กลุ่มเด็กนักเรียนประถมศึกษาในโรงเรียนนำร่อง สุขภาพช่องปากสะอาดปราศจากฟันแท้ผุ มีฟันแท้ ผุ และเหงือกอักเสบลดลง 5. กลุ่มผู้สูงอายุสามารถแปรงฟันได้อย่างถูกวิธีและดูแลฟันปลอมได้ถูกต้อง
6.กลุ่มคนพิการ ทุพพลภาพ ได้รับการตรวจสุขภาพช่องปากและ ผู้ดูแลมีความรู้ความสามารถในการ ดูแลได้ อย่างถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ดุซงญอ รหัส กปท. L2476

อำเภอจะแนะ จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 46,420.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................