กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมสารไอโอดีนในชุมชน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขจำบลท่ามิหรำ

1. นางสาวสิริรัตน์พรหมมินทร์
2. นายเสริม ขวัญนุ้ย
3. นางกรุณาวิสโยภาส
4. นางสาวนันทภรณ์ รุยันต์
5. นางหนูพร้อม ด้วงเอียด

ตำบลท่ามิหรำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ความรู้กับประชาชนในการปรุงอาหารด้วยเกลือและเครื่องปรุงรสที่ผสมสารไอโอดีน

ครัวเรือนมีและใช้เกลือ เครื่องปรุงรสที่ผสมสารไอโอดีน ร้อยละ 95

0.00
2 เพื่อประชาสัมพันธ์โรคขาดสารไอโอดีน

ไม่พบผู้ป่วยโรคขาดสารอาหารไอโอดีน

0.00
3 เพื่อสร้างเครือข่ายภายในตำบลในการป้องกันโรคขาดสารไอโอดีน

มีเครือข่ายหมู่บ้านไอโอดีนในระดับตำบล

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของสารไอโอดีน

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของสารไอโอดีน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-จัดกิจกรรมให้ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของสารไอโอดีน แก่ อสม.และแกนนำสุขภาพระดับครัวเรือน (กสค.) จำนวน 50 คน
   งบประมาณ ดังนี้
    1. ค่าป้ายโครงการ จำนวน 1 ป้าย ราคาป้ายละ 500 บาท เป็นเงิน 500 บาท
     2. ค่าวิทยากร จำนวน 1 วัน ๆ ละ 6 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
     3. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คน ๆ ละ 2 มื้อ ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
     4. ค่าอาหารกลางวันจำนวน 50 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 75 บาท เป็นเงิน 3,750 บาท
-ประชาสัมพันธ์ความรู้เกี่ยวกับความสำคัญของสารไอโอดีผ่านเสียงตามสายในหมู่บ้าน
- ติดตามการใช้เครื่องปรุงรสที่ผสมไอโอดีทุกครัวเรือน
- จัดตั้งเครือข่ายหมู่บ้านไอโอดีนระดับตำบล
- อสม.สำรวจการใช้เครื่องปรุงรสที่ผสมไอโอดีน ในทุกครัวเรือน ทุก 6 เดือน
- สรุปผลการดำเนินงาน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ประชาชนในหมู่บ้านมีความรู้ การควบคุมป้องกันโรคขาดสารไอโอดีนเพิ่มขึ้น
  2. คุณภาพเกลือไอโอดีนที่ใช้อยู่่ในครัวเรือนอยู่ในระดับเกณฑ์มาตรฐาน
  3. ประชาชนมีและใช้เกลือ เครื่องปรุงรสที่ผสมสารไอโอดีน ทุกครัวเรือน
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12850.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 12,850.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>