กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการหนูน้อยสุขภาพดี ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่ามิหรำ

1. นางสาวสิริรัตน์ พรหมมินทร์
2. นายเสริม ขวัญนุ้ย
3. นางกรุณา วิสโยภาส
4. นางสาวนันทภรณ์ รุยันต์
5. นางหนูพร้อม ด้วงเอียด

ตำบลท่ามิหรำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อให้เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัย และเด็กทีมีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติ

เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัย และเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายที่มีความผิดปกติร้อยละ 100

0.00
2 2.การเกิดโรคฟันผุของเด็ก 0-6 ปี ลดลง

โรคฟันผุของเด็ก 0-6 ปี ลดลงร้อยละ 10

0.00
3 3.เพื่อให้เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการที่ปกติ

เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการที่ปกติเพิ่มขึ้นร้อยละ 70

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 200
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมพัฒนาการเด็ก การดูแลสุขภาพช่องปาก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก 0-6 ปี
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดกิจกรรมแลเปลี่ยนเรียนรู้ในการเฝ้าระวังและส่งเสริมพัฒนาการเด็กปฐมวัย เสริมทักษะและความรู้แก่ผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี
   งบประมาณ ดังนี้     - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้ปกครองเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี จำนวน 100 คน ๆละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท 2 ครั้ง เป็นเงิน 3,600 บาท
2. จัดกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพช่องปาก เด็ก 0-6 ปี ให้ความรู้ผู้ปกครองในการดูแลสุขภาพช่องปาก และบริการป้ายหันด้วยฟลูออไรด์วานิชแก่เด็ก 9 เดือน ถึง 6 ปี     งบประมาณ ดังนี้
    - ค่าอาหารว่างสำหรับผู้ปกครองเด็ก 0-6 ปี จำนวน 200 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท
    - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท จำนวน 4 ครั้ง  เป็นเงิน 7,200 บาท
3. จัดกิจกรรมด้านการส่งเสริมภาวะโภชนาการเด็ก 0-6 ปี ให้ความรู้ผู้ปกครองเรื่องโภชนาการสำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการที่ผิดปกติ และมอบอาหารเสริม แก่เด็กที่มีน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์
    งบประมาณดังนี้
     - ค่าอาหารว่างแลเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมจำนวน 30 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 750 บาท
     - ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมง ๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท
     - ค่าอาหารเสริม (นมจืด UHT 1-okf 85 มล.) จำนวน 16 คน ๆละ 200 กล่อง ราคากล่องละ 6 บาท เป็นเงิน 19,200 บาท
4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขและ อสม.ติดตามพัฒนาการและภาวะโภชนาการเด็ก 0-6 ปี
5.  เจ้าหน้าที่สาธารณสุข ประเมินพัฒนาการเด็ก อายุ 9 เดือน 18 เดือน 30 เดือน 42 เดือน และ 60 เดือน
6. เจ้าหน้าที่สาธารณสุขเยี่ยมบ้านร่วมกับ อสม.ในการติดตามเด็กที่ไม่มารับการตรวจพัฒนาการตามช่วงอายุ และเด็กที่มีพัฒนาการสงสัยล่าช้า
7. มีการส่งต่อโรงพยาบาลพัทลุง เมื่อเด็กมีพัฒนาการล่าช้าและติดตาม หลังการรักษา
8. อสม.มีการติดตามชั่งน้ำหนัก วัดส่วนสูง เด็ก 0-6 ปี ทุก 3 เดือน เพื่อติดตามภาวะโภชนาการ
9. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม.มีการติดตามซ้ำ กรณีที่เด็กมีโภชนาการผิดปกติหากสงสัยเป็นโรค มีการส่งต่อเพื่อพบแพทย์

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เด็ก 0-6 ปี มีพัฒนาการที่สมวัย และเด็ก ที่มีพัฒนาการล่าช้าให้ได้รับการกระตุ้นพัฒนาการให้มีพัฒนาการที่สมวัย และได้รับการรักษาที่ถูกต้องในรายทีมีความผิดปกติ
  2. ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการส่งเสริมพัฒนาการการดูแลสุขภาพช่องปากเด็ก การส่งเสริมภาวะโภชนาการในเด็ก
  3. ลดการเกิดโรคฟันผุของเด็กปฐมวัย
  4. เด็ก 0-6 ปี มีภาวะโภชนาการที่ปกติ
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
40050.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 40,050.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>