กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเฝ้าระวังสารเคมีตกค้างในเลือดปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลท่ามิหรำ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านน้ำเลือด

1.นายมนพ ยกฉวี
2. นางพวงผกาช่วยบำรุง
3. นางจำนรรจา ช่วยเนียม
4. นายอาหลี เจ๊ะเอ็ม
5. นางสาวน้องนุช หรุดคง

ตำบลท่ามิหรำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงในการเกิดสารเคมีตกค้างในเลือด ได้รับความรู้เกี่ยวกับสารเคมีตกค้างในเลือดจากการทำเกษตรกรรมและการบริโภค การหลีกเลี่ยง และปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงในการเกิดสารเคมีตกค้างในเลือด (จากการสัมภาษณ์) ได้รับการอบรมทุกคน

0.00
2 กลุ่มเสี่ยง และไม่ปลอดภัย มีผลเลือดปกติ/ปลอดภัยเพิ่มขึ้น

หลังจากได้รับความรู้และมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม กลุ่มเสี่ยงมีผลเลือดสู่ภาวะปกติ/ ปลอดภัยไม่ต่ำกว่าร้อยละ 30

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 274
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 คัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงจากการสมภาษณ์

ชื่อกิจกรรม
คัดกรองสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงจากการสมภาษณ์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. เจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างในเลือดแก่กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยง จากการสัมภาษณ์
        งบประมาณ ดังนี้
        - ค่าหลอดใส่เลือดฮีมาโตคริกติ้ว 100 ชิ้น/กล่องๆละ 150 บาท จำนวน 5 กล่อง เป็นเงิน 750 บาท
        - ค่าเข็มเจาะเลือด บรรจุ 200 ชิ้น / กล่องๆละ 1,200 บาท จำนวน 3 กล่อง เป็นเงิน 3,600 บาท
        - ค่าแถบตรวจโคริ่่นเอสเตอเรส บรรจุ 100 ชิ้น/กล่อง ๆ ละ 1,000 บาท จำนวน 5 กล่อง เป็นเงิน 5,000 บาท
  2. อ่านค่าระดับสารเคมีและแจ้งผลการเจาะเลือดหาสารเคมีตกค้างแก่กลุ่มเป้าหมาย
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 31 มีนาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงในการเกิดสารเคมีตกค้างในเลือด (จากการสัมภาษณ์) ได้เข้ารับการอบรมและได้รับการตรวจหาสารเคมีตกค้างในเลือด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9350.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มประชาชนที่มีรับการเจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมความรู้แก่กลุ่มประชาชนที่มีรับการเจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือด
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มประชาชนที่มีรับการเจาะหาสารเคมีตกค้างในเลือดจำนวน 274 คน โดยแบ่งอบรม 4 รุ่น
        งบประมาณ ดังนี้
         - ค่าวิทยากร จำนวน 4 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 7,200 บาท      - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 274 คน ๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 6,850 บาท
  2. อบรมให้ความรู้แก่กลุ่มที่ผลเลือดพบว่าเสี่ยง / ไม่ปลอดภัยพร้อมกับมีการประเมินภาวะสุขภาพ โดยแบ่งอบรมเป็น 2 รุ่น
        งบประมาณ ดังนี้
         - ค่าวิทยากร จำนวน 2 วัน ๆ ละ 3 ชั่วโมง ๆ ละ  600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท
         - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มสำหรับผุ้เข้ารับการอบรม จำนวน 120 คน ๆละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มีนาคม 2567 ถึง 30 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

กลุ่มประชาชนที่มีความเสี่ยงในการเกิดสารเคมีตกค้างในเลือด (จากการสัมภาษณ์) ได้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดำรงชีวิตที่เสี่ยงอันตรายจากสารเคมี และตระหนักในการใช้สารเคมีอย่างถูกวิธี

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
20650.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>