2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ขยะมูลฝอยเป็นตัวการสำคัญประการหนึ่ง ที่ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น มลพิษทางน้ำมลพิษทางดินมลพิษทางอากาศ ขยะยังเป็นต้นเหตุหนึ่งของการเกิดโรค เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและแมลงวัน ซึ่งเป็นพาหะนำโรคติดต่อทำให้มีผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน คุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ และเป็นปัญหาในการบริหารจัดการของประเทศ พื้นที่เทศบาลตำบลสุคิริน เป็นพื้นที่ที่เริ่มขยายตัวเป็นชุมชนเมืองมากยิ่งขึ้น มีแหล่ง ชุมชน ร้านค้า และตลาดนัดในการจับจ่ายซื้อขาย ทำให้มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้นตามไปด้วยมีแนวโน้มจะเป็นปัญหาขยะตามมา ทางออกหนึ่งในการแก้ไขปัญหาในระยะยาวคือการลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิด โดยคำนึงถึงความจำเป็นที่ต้องใช้อย่างรู้คุณค่า ส่งเสริมให้มีการคัดแยกขยะก่อนนำไปทิ้ง สร้างจิตสำนึกและความตระหนักต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อม จึงจัดทำ "โครงการฝึกอบรมให้ความรู้เรื่องการคัดแยกขยะในชุมชนกลันตันปี 2567 " โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เพื่อจัดการขยะมูลฝอยที่เหมาะสมสามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยจากแหล่งกำเนิดได้อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/02/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2024
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ประชาชนมีความรู้ และมีการจัดการขยะได้อย่างวิธี
2. ปริมาณขยะในชุมชุมลดลง
3. ประชาชน มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการการคัดแยกขยะก่อนทิ้ง
4. ประชาชนมีจิตสำนึกและความตระหนักต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อม