กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เกาะใหญ่

ชมรม อสม รพ.สต.บ้านไร่

1.นางนงเยาว์พิพิธภัณฑ์
2.นางชฎาท่องแท่นแก้ว
3.นางยุภาแซ่จิ

ตำบลเกาะใหญ่

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อซึ่งมียุงลายบ้านและยุงลายสวนเป็นแมลงพาหะนำโรคที่สำคัญ

การระบาดของโรคไข้เลือดออกดเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่ว่งฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก เนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังในภาชนะต่างๆจึงเป็นแหล่งเพาะพันธุ์เพิ่มจำนวนประชากรของยุงลายพาหะนำโรคได้เป็นอย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพควรต้องเตรียมความพร้อมควบคุมกำจัดยุงลายก่อนจะถึงฤดูการระบาดของโรคเพื่อลดจำนวนประชากรของยุงลายในพื้นที่ และเพื่อทราบความเสี่ยงการเกิดโรคในพื้นที่ต่อไป ปัจจัยการระบาดที่สำคัญที่ทำให้มีการระบาดและมีการขยายพื้นที่ออกไปดอย่างกว้างขวาง ได้แก่ การเพิ่มจำนวนของประชากรรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีชุมชนเมืองเพิ่มขึ้น มีการเคลื่อนไหวของประชากร และมียุงลายมากขึ้นตามการเพิ่มของภาชนะน้ำขังที่มนุษย์สร้างขึ้น การคมนาคมที่สะดวกขึ้นทั้งทางบก และทางอากาศทำให้มีการเดินทางมากขึ้นทั้งภายในและต่างประเทศ ปัจจัยเหล่านี้ทำให้การแพร่กระจายขอางเชื้อไวรัสเดงกี่ เป็นไปอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญต่อการเกิดโรคไข้เลือดออกอีกประการหนึ่ง ได้แก่ การที่มีพื้นที่เชื้อไวรัสเดงกี่ชุกชุมและมีมากกว่าหนึ่งชนิดในเวลาเดียวกัน หรือการติดซ้ำ ซึ่งมีผลต่อการระบาดและแพร่กระจายของโรคไข้เลือดออกด้วยจากสถานการณ์ของโรคไข้เลือดออกในปีที่ผ่านมา พบผู้ป่วย จำนวน 53 ราย แยกเป็นรายหมู่บ้าน คือม.2จำนวน 3 ราย ม.3 จำนวน 11 ราย ม.4 จำนวน 30 ราย ม.5 จำนวน 6 ราย และ ม.7 จำนวน 3 ราย ผู้ป่วยส่วนใหญ่อยู่ในกลุ่มวัยเรียน พบผู้ป่วยตั้งแต่เดือน ก.ค.66-ม.ค.67ในการนี้ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน รพ.สต.บ้านไร่ จึงได้จัดทำโครงการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดอออก เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือโรคไข้เลือดออก ก่อนฤดูการระบาด เพื่อลดโอกาสสัมผัสระหว่างมนุษย์กับแมลงพาหะนำโรค ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงของประชาชนในชุมชนต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออก

0.50

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อดำเนินการควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์

สามารถควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ทันเหตุการณ์

0.00
2 เพื่อทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัด และโรงเรียน ที่เป็นแหล่งโรค

ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัด และโรงเรียน

0.00
3 เพื่อทำลายแหล่งเพาะธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัด และโรงเรียนที่เป็นแหล่งโรค

ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์และภาชนะเสี่ยงในชุมชน วัด และโรงเรียน

0.00
4 เพื่อลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

ประชาชนสามารถลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออก

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/02/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆ

ชื่อกิจกรรม
รณรงค์ทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ยุงลาย และสำรวจภาชนะเสี่ยงต่างๆ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การควบคุมโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์การควบคุมโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 จัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุมโรคติดต่่อตามฤดูกาล และโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
จัดกิจกรรมรณรงค์ควบคุมโรคติดต่่อตามฤดูกาล และโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 สนับสนุนการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย

ชื่อกิจกรรม
สนับสนุนการรณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลาย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 5 ควบคุมทำลายตัวแก่โดยการพ่นสารเคมีด้วยหมอกควัน หรือการพ่นฝอยละออง ก่อนการระบาดของโรค และช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออก

ชื่อกิจกรรม
ควบคุมทำลายตัวแก่โดยการพ่นสารเคมีด้วยหมอกควัน หรือการพ่นฝอยละออง ก่อนการระบาดของโรค และช่วงการระบาดของโรคไข้เลือดออก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การพ่นหมอกควัน ค่าจ้างฉีดพ่นหมอกควัน (จำนวน 70 ครั้ง2คน300 บาท) เป็นเงิน  42000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
42000.00

กิจกรรมที่ 6 สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ ปละประเมินผลการดำเนินงาน

ชื่อกิจกรรม
สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะ ปละประเมินผลการดำเนินงาน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 42,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดอัตราป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกในประชาชนทุกกลุ่มวัย
2.มีการเฝ้าระวังสำรวจและทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายอย่างต่อเนื่อง
3.ประชาชนมีความตระหนักในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
4.การมีส่วนร่วมจากภาคีเครือข่ายในการควบคุมป้องกันโรคติดต่อด้วยโรคไข้เลือดออก
5.มีกิจกรรมการรณรงค์การควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออกในชุมชนอย่างต่อเนื่อง


>