กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมและระบบไหลเวียนเลือดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย ประจำปีงบประมาณ 2566
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่านั่ง
3.
หลักการและเหตุผล

ข้อเข่าเสื่อม เป็นโรคเรื้อรังในระบบกระดูก และกล้ามเนื้อ สามารถเกิดขึ้นได้ตั้งแต่ในวัยผู้ใหญ่ไปจนถึงวัยสูงอายุ มีแนวโน้มปัญหาเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ก่อให้เกิดผลกระทบทั้งทางด้านร่างกาย จิตสังคม และเศรษฐกิจ ผู้ป่วยต้องเผชิญกับความปวด ข้อเข่าฝืด เคลื่อนไหวลำบาก หากไม่ได้รับการดูแลที่เหมาะสมจะทำให้ความรุนแรงของโรคเพิ่มขึ้น ที่นำไปสู่ความพิการ ส่งผลให้เกิดความเครียด วิตกกังวล เกิดภาวะซึมเศร้า ทั้งยังเป็นโรคที่ต้องใช้ค่าใช้จ่ายในการรักษาค่อนข้างสูง แม้ว่าโรคข้อเข่าเสื่อมจะมีกระบวนการเกิดแบบค่อยเป็นค่อยไปอย่างต่อเนื่อง และไม่สามารถกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ แต่จากการทบทวนวรรณกรรมพบว่า มีวิธีการป้องกันและช่วยชะลอการเกิดโรคได้ตั้งแต่ในวัยผู้ใหญ่ เริ่มต้นจากการได้รับการคัดกรองข้อเข่าเสื่อมและค้นหาปัจจัยที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งให้ความรู้ในการดูแลข้อเข่าที่ถูกต้องเหมาะสม (การชะลอการเกิดข้อเข่าเสื่อมก่อนเข้าสู่วัยสูงอายุ, ฉัตรสุดา กานกายันต์, 2561) ประเทศไทยส่วนใหญ่จะพบผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมในกลุ่มอายุ 55 ปีขึ้นไป โดยกลุ่มผู้ป่วยที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมากจนไม่สามารถปฏิบัติกิจวัตรประจำวันได้ และได้รับการรักษาด้วยวิธีการไม่ใช้ยาและใช้ยาแล้วไม่ได้ผล จำเป็นต้องได้รับการผ่าตัด เพื่อเปลี่ยนข้อเข่าเพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จากสถานการณ์ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม จาก 241,135 ราย เป็น 274,133 ราย เฉลี่ยเพิ่มขึ้นปีละ 8,250 ราย ส่วนผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดข้อเข่าเสื่อม พบว่า มีจำนวนเพิ่มขึ้น จาก 6,353 ราย รายในปี 2557 เป็น 8,690 ราย ในปี 2558 และ10,736 รายในปี 2559 คิดเป็นอัตราเฉลี่ยเพิ่มร้อยละ 23 ต่อปี ทั้งมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากการเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุในอนาคตตำบลท่านั่งมีผู้สูงอายุทั้งหมด 792 คน คิดเป็นร้อยละ 20.23 ของประชากรทั้งหมด ซึ่งถือเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยสมบูรณ์แล้ว ผู้สูงอายุมักมีปัญหาจากภาวะข้อเข่าเสื่อมติดตามมาจำนวนมากในปี 2564 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมทั้งหมด 726 คน พบผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จำนวน 233 คน คิดเป็นร้อยละ 32.09 และปี 2565 ผู้สูงอายุได้รับการตรวจคัดกรองภาวะข้อเข่าเสื่อมทั้งหมด 484 คน พบผู้สูงอายุที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม จำนวน 221 คน คิดเป็นร้อยละ 45.66 ดังนั้นชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลท่านั่งได้เล็งเห็นความสำคัญของการป้องกันโรคข้อเข่าเสื่อมในผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมและระบบการไหลเวียนเลือดด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดทำแผนงานโครงการและอนุมัติเพื่อขอสนับสนุนงบประมาณ
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. ประชุมชี้แจงโครงการในกลุ่มแกนนำแพทย์แผนไทยตำบลท่านั่ง จำนวน 5 คน
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. สำรวจ/ค้นหา/คัดกรอง/ผู้ที่มีภาวะปวดข้อเข่า (ข้อเข่าเสื่อม) และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงมีภาวะข้อเข่าเสื่อม
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์สำหรับพอกเข่า
    รายละเอียด

     

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 5. อมรมให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการ และการดูแลตนเองที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและอาการชาปลายมือปลายเท้า ให้กับกลุ่มผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม ผู้ดูแลและผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง
    รายละเอียด

    ค่าอาหารกลางวันและอาหารว่าง เครื่องดื่ม ผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อมและอาการชาปลายมือปลายเท้าจำนวน 50 คนๆละ 100 บาท เป็นเงิน 5,000 บาท

    งบประมาณ 5,000.00 บาท
  • 6. ให้บริการในผู้ที่มีภาวะข้อเข่าเสื่อม และผู้ป่วยติดบ้านติดเตียงโดยวิธีพอกเข่าด้วยสมุนไพร ทุกวันศุกร์ทุกสัปดาห์
    รายละเอียด

    1 ค่าพาหนะเหมาจ่าย (รถจักรยานยนต์) ในการให้บริการดูแลข้อเข่าเสื่อม จำนวน 5คนๆละ 100 บาท จำนวน 20 ครั้ง เป็นเงิน 10,000 บาท
    2 ค่าวัสดุ/ค่าสมุนไพร การทำยาพอกเข่า (ระบุ) จำนวนเงิน 3,300 บาท -ไพล 90 กิโลกรัมๆละ 30 บาท เป็นเงิน 2,700 บาท -ค่าดินสอพอง 30 กิโลกรัมๆละ 20 บาท เป็นเงิน 600 บาท

    งบประมาณ 13,300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2565 ถึง 31 สิงหาคม 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่หมู่ 1-6 ตำบลท่านั่ง อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจตร

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 18,300.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. มีการพัฒนาระบบบริการสุขภาพผู้สูงอายุที่ดีขึ้น
    1. ผู้สูงอายุได้รับการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคด้วยศาสตร์แพทย์แผนไทย
    2. ผู้สูงอายุมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในการดูแลข้อเข่าด้วยตนเอง
    3. ผู้ดูแลผู้ป่วยติดบ้านติดเตียง มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุ อาการโรคข้อเข่าเสื่อมเพิ่มขึ้น
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่านั่ง รหัส กปท. L3406

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 18,300.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................