กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรณรงค์ลดการใช้สารเคมีในการประกอบอาชีพเกษตรกร

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ

1. นางปฐมาพร พิทักษ์
2. นางมณธีร์จิตจินดา
3. นางพัชรีเตี้ยนวล
4. นางสาวน้ำทิพย์ ช่วยเทศ
5. นางวราภรณ์ เทพฉิม

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง , แผนงานมลพิษจากสิ่งแวดล้อม

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันเกษตรกรมีการใช้สารเคมีในการปราบศรัตรูพืช เป็นจำนวนมากจากผลการสำรวจตำบลตะเครียะ ปี 2566 คิดเฉลี่ยประมาณร้อยละ 80 ของหลังคาเรือน ทำให้ ตัวเกษตรกรเอง และผู้บริโภค มีโอกาสได้สัมผัส และได้รับสารเคมี ทั้งโดยทางตรงและทางอ้อม ทำให้สารเคมีเข้าสู่กระแสเลือด ซึ่งเป็นอันตรายต่อสุขภาพ
ดังนั้น โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะได้เห็นความสำคัญของคุณภาพชีวิต ของเกษตรกร และจึงได้จัดทำโครงการตรวจสารเคมีในเลือดในเกษตรกร ปีงบประมาณ 2567เพื่อจะได้ทราบข้อมูล
เกษตรผู้ประกอบอาชีพ และจะได้วางแผนรักษาเกษตรผู้ที่มีความเสี่ยงจากการได้รับสารเคมี ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1. เกษตรมีความรู้และใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย

1.เกษตรกรมีความรู้และใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย ร้อยละ 80

0.00
2 2. เกษตรได้รับการตรวจสารเคมีในเลือดอย่างน้อยปีละครั้ง

2.เกษตรกรผู้สัมผัสได้รับการตรวจสารเคมีในเลือด อย่างน้อยปีละครั้ง ร้อยละ 60

0.00
3 3. เกษตรกรผู้มีความเสี่ยงได้รับการรักษา

เกษตรกรผู้มีความเสี่ยง ได้รับการรักษา ร้อยละ 100

0.00

1.เกษตรกรมีความรู้และใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. อบรมส่งเสริมความรู้ในเกษตรกรจำนวน 100 ราย แบ่งเป็น2 รุ่นๆละ 1 วัน ๆละ 50 คน 2.ตรวจหาสารเคมีในเลือด จำนวน 100 ราย 3.รักษาในรายที่มีความเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
1. อบรมส่งเสริมความรู้ในเกษตรกรจำนวน 100 ราย แบ่งเป็น2 รุ่นๆละ 1 วัน ๆละ 50 คน 2.ตรวจหาสารเคมีในเลือด จำนวน 100 ราย 3.รักษาในรายที่มีความเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x100 คน เป็นเงิน 6,000 บ. 2.ค่าอาหารว่าง 30 บาท 2 มื้อ x100 คน เป็นเงิน 6,000 บ. 3. ศาวัสดุอุปกรณ์ (ชุดตรวจ) จำนวน ชุดๆละ 1,550 บาท เป็นเงิน 3,100 บาท 4.ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมง ๆละ 600บาท จำนวน 2 วัน เป็นเงิน 7,200 บาท เป็นเงิน 22,300  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
22300.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 22,300.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เกษตรมีความรู้และใช้สารเคมีอย่างปลอดภัย
2. เกษตรกรได้รับการตรวจเลือดสารเคมีในเลือด
3.เกษตรกรผู้มีความเสี่ยงได้รับการรักษา


>