กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 ปีงบประมาณ 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการพัฒนาปรับเปลี่ยนพฤติกรรมลดโรคในกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ปีงบประมาณ 2567 ปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ

๑. นางสาวอาภรณ์ ไพศาล
๒. นายวินัยชูเปีย
๓. นายประมวญช่วยแท่น
๔. นางอำนวย เซ่งเอียง
๕. นางสาลี ชูบัวทอง
๖. นางเสาวณีย์ ห้องชู

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตะเครียะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง เป็นโรคเรื้อรังที่เกิดจากปัจจัยที่ไม่สามารถควบคุมได้ เช่น กรรมพันธุ์ อายุ และปัจจัยที่ สามารถควบคุมได้ เช่น ความอ้วน ความเครียด ขาดการออกกำลังกาย การบริโภคอาหารไม่ถูกส่วน การดื่มสุรา การสูบบุหรี่ ถ้าหากประชาชนไม่ มีการควบคุมปัจจัยดังกล่าว ร่วมกับการมีอายุที่มากขึ้น ย่อมมีโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วยด้วยโรคเบาหวานหรือความดันโลหิตสูงได้ซึ่งเมื่อโรคดังกล่าวแล้วจำเป็นต้องรับประทานยาตลอดชีวิตหรือถ้าหากมีพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสมมีโอกาสตามมา ทำให้สูญเสียค่าใช้จ่ายมากขึ้นจากสถิติข้อมูลย้อนหลัง ปี 2564 - 2566 พบว่า ประซากรกลุ่มเสี่ยงเปลี่ยนพฤติกรรมแล้วมีพฤติกรรมดีขึ้น ร้อยละ 68.60 ร้อยละ 75.20 และร้อยละ 79.50 ของประซากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ดังนั้นเพื่อส่งเสริมให้ประชากลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง ได้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม อย่างน้อย ปีละครั้งปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรคในประชากรกลุ่มเสี่ยง และลดจำนวนผู้ป่วยรายใหม่ ในระยะต่อไป
เพื่อเป็นการร่วมวางแผนแก้ไขปัญหา
ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุข ตำบลตะเครียะ ได้เห็นความสำคัญของปัญหา จึงได้จัดทำโครงการเพื่อให้กลุ่มเสี่ยงใด้รับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อลดโรค เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง ในอนาคต

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยงโรคเรื้อรัง มีความรู้ความเข้าใจในการ ดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง

ประชากรกลุ่มเสี่ยงมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อให้ประชากรกลุ่มเสี่ยง สามารถดูแลสุขภาพของตนเองและ ผู้อื่นได้

ประชากรกลุ่มเสี่ยง เข้าร่วมโครงการและสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อื่นได้ ร้อยละ 80

0.00
3 ลดการเกิดโรคเรื้อรังรายใหม่ในประชากรกลุ่มเสี่ยง

.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ 5

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. สำรวจรายชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ พร้อมทั้งคัดเลือก กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 2. จัดให้อบรมส่งเสริมความรู้กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ โดย แยกเป็น 5 รุ่น ๆละ 40 คน รุ่นละ 1 วัน

ชื่อกิจกรรม
1. สำรวจรายชื่อประชากรกลุ่มเสี่ยงในพื้นที่ พร้อมทั้งคัดเลือก กลุ่มเป้าหมายเข้ารับการอบรม 2. จัดให้อบรมส่งเสริมความรู้กลุ่มเป้าหมายในการดูแลสุขภาพ โดย แยกเป็น 5 รุ่น ๆละ 40 คน รุ่นละ 1 วัน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. คู่มือการดูแลสุขภาพกลุ่มเสี่ยง 200 เล่มๆละ 45 บาท เป็นเงิน 9,000 บาท 2.  อาหารว่าง และเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 30 แยกเป็น 5 รุ่น ๆละ 40 คน รุ่นละ1 วัน บาท 200 คน เป็นเงิน 12,000 บาท
  2. อาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 60 บาท 200 คน เป็นเงิน 12,000 บาท
  3. ค่าตอบแทนวิทยากรวันละ 6 ชม.ๆละ600 บาท 5 วัน เป็นเงิน 18,000 บาท
  4. วัสดุอุปกรณ์ในการอบรม ( ปากกา กระดาษ สมุด ) เป็นเงิน 9,000 บาท
    รวมเป็นเงิน 60000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
60000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 60,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชากรกลุ่มสี่ยงโรคเรื้อรังมีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพที่ถูกต้องสามารถดูแลสุขภาพของตนเองและผู้อื่นได้
2. ประชากรกลุ่มเสี่ยงปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเป็นกลุ่มปกติ ร้อยละ 80 ของประชากรกลุ่มเสี่ยง
3.ผู้ป่วยรายใหม่โรคเรื้อรังลดลง ร้อยละ 5


>