กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการปฐมพยาบาลและการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลปุโละปุโย
กลุ่มคน
1.นายมะกอเซ็ง เจะแต (ประธาน)
2.นายมุสตากีม ดอนิ
3.นายซูเปียน มะมิง
4.นางสาวนูรฮายาตี มัณฑนาพร
5.นายอาสมาน อาบูวะ
3.
หลักการและเหตุผล

ตำบลปุโละปุโย อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานีเป็นพื้นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดเหตุฉุกเฉินในทุกประเภท เช่น อุบัติเหตุทางถนน การจมน้ำ สัตว์มีพิษกัดต่อย ฯลฯ ซึ่งในปี พ.ศ.2565 ตำบลปุโละปุโยมีเหตุฉุกเฉินที่ต้องส่งต่อรักษาที่โรงพยาบาลหนองจิกทั้งหมด 38 ราย แบ่งเป็นอุบัติเหตุทางถนนจำนวน 24 ราย ถูกสัตว์มีพิษกัดต่อย /จำนวน... จำนวน 7 ราย เหตุจมน้ำจำนวน 2 ราย และมีเหตุการณ์ที่เกิดการหายใจติดขัดเนื่องจากสิ่งแปลกปลอมหรืออาหารติดคอจำนวน 5 ราย ซึ่งทุกเหตุการณ์ประชาชนทั่วไปสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพเพื่อลดการสูญเสียแก่ชีวิตและการบาดเจ็บก่อนนำส่งโรงพยาบาลได้ แต่จากการบันทึกข้อมูลทุกเหตุการณ์ประชาชนในที่เกิดเหตุไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้เลย อีกทั้งการเข้าถึงการบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉินเป็นไปด้วยยากและล่าช้า สาเหตุที่ประชาชนในที่เกิดเหตุนั้นๆไม่สามารถปฐมพยาบาลและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ เกิดจากพฤติกรรมที่ไม่มีความรู้หรือทักษะในการช่วยเหลือ ไม่กล้าที่จะช่วยเหลือ อีกทั้งประชาชนยังมองถึงการช่วยเหลือเป็นหน้าที่ของครอบครัวหรือญาติของผู้ประสบเหตุเท่านั้น ปัญหาทางกายภาพที่ขาดแคลนด้านอุปกรณ์ในการช่วยเหลือ และยังไม่มีทีมงานหรือหน่วยงานที่ให้ความรู้และฝึกทักษะการปฐมพยาบาลให้กับประชาชนอย่างสม่ำเสมอ จากสาเหตุดังกล่าวเมื่อประชาชนในที่เกิดเหตุไม่กล้าที่จะปฐมพยาบาลเบื้องต้นหรือให้ผู้ประสบเหตุ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ ทั้งเสียชีวิต พิการ และบาดเจ็บขั้นรุนแรงเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังส่งผลกระทบต่อสังคมได้เมื่อผู้ที่มีความสามารถหรือทักษะการช่วยเหลือไม่ให้ความช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ อาจทำให้เกิดความไม่พอใจของญาติผู้ประสบเหตุ ผลกระทบทางเศรษฐกิจต้องเสียค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นเมื่อผู้ช่วยเหลือปฐมพยาบาลผิดวิธี จากปัญหาดังกล่าวทางผู้รับผิดชอบโครงการเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้เรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพิ่มความมั่นใจในการช่วยเหลือ ลดความสูญเสียเพิ่มขึ้นได้ อีกทั้งยังมีการจัดตั้งทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่เพื่อเพิ่มการเข้าถึงบริการด้านการแพทย์ฉุกเฉิน จึงได้จัดโครงการ“การปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือ ฟื้นคืนชีพ ตำบลปุโละปุโย”นี้ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.ผู้เข้าร่วมอบรมสามารถปฐมพยาบาลเบื้องต้นและมีทักษะการช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย
    ตัวชี้วัด : 1) เกิดคณะทำงานด้านการแพทย์ฉุกเฉิน เฝ้าระวังในพื้นที่ ตัวชี้วัด - มีคำสั่งคณะกรรมการ/ทีมงานด้านการแพทย์ฉุกเฉินประจำตำบล ประกอบด้วย จนท.สาธารณสุข/กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/อพปร./ชรบ./อสม. - มีข้อมูลสถานการณ์เหตุฉุกเฉินในพื้นที่ 2) มีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพได้ ตัวชี้วัด - ร้อยละ 100 ของผู้เข้าร่วมอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีทักษะการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและช่วยเหลือฟื้นคืนชีพตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นอย่างถูกวิธีและปลอดภัย
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน
    ตัวชี้วัด : 1) เกิดกลไกการเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉินในพื้นที่ ตัวชี้วัด - มีทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน หมู่บ้านละ 1 ทีม ประกอบด้วย กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน/จนท.สาธารณสุข/อพปร./ชรบ./อสม. - มีสถานที่สำหรับทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน มีการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
  • 3. ผู้ประสบเหตุฉุกเฉิน ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพจากทีมก่อนนำส่งโรงพยาบาล
    ตัวชี้วัด : 1) ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ผู้ประสบเหตุฉุกเฉินร้อยละ 80 ได้รับการปฐมพยาบาลหรือช่วยเหลือฟื้นคืนชีพก่อนนำส่งโรงพยาบาล - ไม่มีผู้เสียชีวิตจากการช่วยเหลือของทีมเฝ้าระวังเหตุฉุกเฉิน
    ขนาดปัญหา 1.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. 1.ประชุมเจ้าหน้าที่รพ.สต.ปุโละปุโยและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเพื่อสำรวจกลุ่มเป้าหมาย ชี้แจงโครงการและแต่งตั้งคณะกรรมการ
    รายละเอียด

    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. 2.สำรวจกลุ่มเป้าหมายที่จะเข้าอบรม
    รายละเอียด

    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 3. 3.จัดทำโครงการเสนอขอสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลปุโละปุโย
    รายละเอียด

    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 4. 4. จัดอบรมกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย โดยแบ่งเป็น 5 รุ่นจัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 1 ) จำนวน 50 คน
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คนเป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คน เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ xมื้อละ 25 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 13,600 บาท
    งบประมาณ 13,600.00 บาท
  • 5. 2.จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 2 ) จำนวน 50 คน
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คนเป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คน เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ xมื้อละ 25 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 13,600 บาท
    งบประมาณ 13,600.00 บาท
  • 6. 3.จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 3 ) จำนวน 50 คน
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คนเป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คน เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ xมื้อละ 25 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 13,600 บาท
    งบประมาณ 13,600.00 บาท
  • 7. 4.จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย(รุ่นที่ 4 ) จำนวน 50 คน
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คนเป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน3ชั่วโมง x ชั่วโมงละ600 บาท x 1 คน เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน2,500 บาท
    • ค่าอาหารว่างจำนวน 2 มื้อ xมื้อละ 25 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 13,600 บาท
    งบประมาณ 13,600.00 บาท
  • 8. 5.จัดกิจกรรมอบรมและฝึกทักษะการช่วยชีวิตเบื้องต้นกลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ตำบลปุโละปุโย (รุ่นที่ 5 ) จำนวน 50 คน
    รายละเอียด
    • ค่าวิทยากรในการอบรม จำนวน  3  ชั่วโมง x ชั่วโมงละ  600 บาท x 1 คน      เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าวิทยากรในการอบรมภาคปฏิบัติ จำนวน  3  ชั่วโมง x ชั่วโมงละ  600 บาท x 1 คน    เป็นเงิน1,800 บาท
    • ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 1 มื้อ x มื้อละ 50 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน  2,500 บาท
    • ค่าอาหารว่าง  จำนวน 2 มื้อ x  มื้อละ 25 บาท x จำนวน 50 คน เป็นเงิน 2,500 บาท
    • ค่าเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 50 เล่มๆละ 100 บาท x 50 คน เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 13,600 บาท
    งบประมาณ 13,600.00 บาท
  • 9. 9.จัดซื้อจัดจ้างทำป้ายไวนิล วัสดุอุปกรณ์ ตลอดจนจัดเตรียมสถานที่สำหรับกิจกรรม
    รายละเอียด
    • ค่าป้ายโครงการ ขนาด 1.2 x 3เมตร จำนวน1 ป้ายเป็นเงิน 720 บาท
    • ค่าวัสดุใช้ในการอบรมเป็นเงิน 6,280 บาท รวมเป็นเงิน 7,000บาท
    งบประมาณ 7,000.00 บาท
  • 10. 10.เกิดทีมเฝ้าระวังด้านการแพทย์ฉุกเฉินระดับหมู่บ้าน และประเมินผลการดำเนินโครง
    รายละเอียด

    ไม่มีค่าใช้จ่าย

    งบประมาณ 0.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน 100 คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน 150 คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 30 มกราคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 75,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

 

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปุโละปุโย รหัส กปท. L3069

อำเภอหนองจิก จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 75,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................