กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ตะเครียะ

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ

๑. นางสาวอาภรณ์ ไพศาล
๒. นายวินัยชูเปีย
๓. นายประมวญช่วยแท่น
๔. นางอำนวยเซ่งเอียง
๕. นางสาลีชูบัวทอง
๖. นางเสาวณีย์ห้องชู

โรงพยาบาลสุขภาพตำบลตะเครียะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ปัจจุบันสังคมไทยก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ ประกอบกับการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ. สังคม และเทคโนโลยี อย่างรวดเร็ว จึงจำเป็นที่ผู้สูงอายุจะต้องมีการพัฒนาศักยภาพของตน ให้เป็นผู้สูงอายุที่ทันต่อเหตุการณ์ ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณภาพ สามารถพึ่งพาตนเองและช่วยเหลือสังคมได้การรวมกลุ่มผู้สูงอายุ ในรูปแบบของชมรม เป็นแนวทางในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง เพื่อให้สมาชิกได้ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน อีกทั้งเป็นการส่งเสริมให้ผู้สูงอายุ ได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม และชุมชนท้องถิ่นการสำรวจผู้สูงอายุในเขต ตำบลตะเครียะ ในปีงบประมาณ 2567 พบว่ามีจำนวนผู้สูงอายุทั้งหมด 922 คน เพศซาย จำนวน 396 คน เพศหญิง จำนวน 526 คน เป็นผู้สูงอายุติดสังคม จำนวน 857 ราย ติดบ้าน 50 ราย ติดเตียง 15 ราย เป็นผู้สูงอายุในโรคเบาหวานส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพกายเช่นการเจ็บป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อ อุบัติเหตุ โรคข้อเช่าเสื่อม โรคความดันโลหิตสูง มองและหลอดเลือด ซึ่งปัจจัยเยงที่สำคัญ ขาดการออกกำลังกายพฤติกรรมเสียงในการบริโภคร่างกายเจ็บป่วยง่ายการเจ็บป่วยด้านสุขภาพจิตในผู้สูงอายุ อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงทามณ์มีความเศร้าใจกังวลใจน้อยใจให้เสียใจ และการอยู่ร่วมในสังคมของผู้สูงอายุ บุตรหลานมักปล่อยให้อยูโดดเดี่ยวด้วยชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลตะเครียะ อำเภอระโนด จังหวัดสงขลา ได้เห็นถึงปัญหาผู้สูงอายุในชุมชน และแนวทางในคารแก้ไข มีความประสงค์จะจัดทำโครงการสูงวัยใสใจสุขภาพ ปีงบประมาณ 2567 เพื่อส่งเสริมพัฒนาศักยภาพผู้สูงอายุให้มีความรู้ทักษะ ในการพัฒนาในการดำเนินชีวิต ให้มีความเข้มแข็ง ตามวัตถุประสงค์ โดยขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลตะเครียะ ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพและช่วยเหลือ แก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง

1.ผู้สูงอายุมีความรู้ด้านสุขภาพ สามารถดูแลสุขภาพและช่วยเหลือแก้ปัญหาด้านสุขภาพด้วยตนเอง ตนเองได้ ร้อยละ 80

0.00
2 เพื่อส่งเสริมการเยี่ยมบ้านผู้สูงอายุ ที่มีคุณภาพ โดย อสม.และเจ้าหน้าที่

ผู้สูงอายุได้รับการเยี่ยมบ้าน อย่างน้อยปีละครั้ง ร้อยละ 80

0.00
3 เพื่อให้ผู้สูงอายุได้มีการพบปะ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์

ผู้สูงอายุได้มีการพบปะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในชมรมอย่างน้อยเดือนละครั้ง ร้อยละ 70

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ 200
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ 2. ตรวจสุขภาพให้กับผู้สูงอายุที่เข้าอบรมทุกคน 3. ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ 4. สนับสนุนให้ขมรมผู้สูงอายุจัดกิจกรรมร่วมกันทุกเดือน เช่น สวดมนต์ การฝึกสมาธิ การแลกเปลี่ยนเรียน การส่งเสริมความรู้ การ

ชื่อกิจกรรม
1. จัดอบรมให้ความรู้ด้านสุขภาพแก่ผู้สูงอายุ 2. ตรวจสุขภาพให้กับผู้สูงอายุที่เข้าอบรมทุกคน 3. ชี้แจงแนวทางการดำเนินงานชมรมผู้สูงอายุ 4. สนับสนุนให้ขมรมผู้สูงอายุจัดกิจกรรมร่วมกันทุกเดือน เช่น สวดมนต์ การฝึกสมาธิ การแลกเปลี่ยนเรียน การส่งเสริมความรู้ การ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ค่าอาหารกลางวัน 60 บาท x200 คนตรวจสุขภาพให้กับผู้สูงอายุที่เข้าอบรมทุกคน เป็นเงิน 12,000 บ. 2. ค่าอาหารว่าง 30 บาท 2 มื้อx200 คน เป็นเงิน 12,000 บ. 3. คู่มือดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ จำนวน 200 4. ค่าตอบแทนวิทยากรวันละ 6 ชั่วโมง  ละ 600 บาท จำนวน 5 วัน เป็นเงิน 18,000 บาท 5. วัสดุ อุปกรณ์ เป็นเงิน 5,000 บาท รวมเป็นเงิน 56,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2566 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
56000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 56,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้สูงอายุมีความรู้ และสามารถดูแลสุขภาพตนเองได้ถูกต้อง
2. เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุ
3. ผู้สูงอายุ สนใจเข้ากลุ่มร่วมกิจกรรมในชมรมผู้สูงอายุอย่างต่อเนื่อง


>