กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโพทะเล

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันอุบัติเหตุช่วงเทศกาลปีใหม่ พ.ศ. 2566

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลโพทะเล

สนักปลัดเทศบาลตำบลโพทะเล

จ่าเอกกวีจันดี และคณะ

เทศบาลตำบลโพทะเล อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานความปลอดภัยทางถนน

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 การรักษาความสงบเรียบร้อยและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน เป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่งที่ทุกหน่วยงาน ทุกองค์กร ต้องร่วมกันดำเนินการเพื่อให้เกิดความปกติสุขของประชาชน โดยเฉพาะหน่วยบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ที่มีอำนาจหน้าที่ตามที่ได้กำหนดไว้ในบทบ

 

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อจัดตั้งด่านชุมชนเพื่อสกัดจุดเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุ ในการใช้รถใช้ถนนของคนในพื้นที่

 

0.00
2 เพื่อกระตุ้นและสร้างความตื่นตัวของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร

 

0.00
3 เพื่อให้มีการร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการ บูรณาการ

 

0.00
4 เพื่อแก้ปัญหาอุบัติเหตุทางถนนและการก้าวสู่ทศวรรษด้วยความปลอดภัย

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 29/12/2022

กำหนดเสร็จ 04/01/2023

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ

ชื่อกิจกรรม
เสนอโครงการเพื่ออนุมัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
20 ธันวาคม 2565 ถึง 23 ธันวาคม 2565
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ประสานงานกับ อปพร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

ชื่อกิจกรรม
ประสานงานกับ อปพร. และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 3 ออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่

ชื่อกิจกรรม
ออกคำสั่งมอบหมายหน้าที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 4 ดำเนินการตามโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
ดำเนินการตามโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. จัดทำป้ายโครงการและป้ายรณรงค์ประชาสัมพันธ์ป้องกันและลดอุบัติเหตุ                                                          จำนวน  8,000   บาท     2. ค่าน้ำดื่มสำหรับบริการประชาชนในกิจกรรมรณรงค์การป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนวันที่ 29 ธันวาคม พ.ศ. 2565 และในช่วงตั้งด่านชุมชนบริการประชาชน(วันที่  ๒๙  ธันวาคม ๒๕๖5 - ๔ มกราคม ๒๕๖6  ณ ถนนบรรพตพิสัย – บางมูลนาก ณ บริเวณสี่แยกตลาดสดโพทะเล หน้า Lotus’s go fresh)                                                                                                                                                 จำนวน 2,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
29 ธันวาคม 2565 ถึง 4 มกราคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

๑. สามารถจัดตั้งด่านชุมชนเพื่อสกัดจุดเสี่ยงและลดพฤติกรรมเสี่ยงที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุในการใช้รถใช้ถนนของคนในพื้นที่
๒. สามารถสร้างความตื่นตัวของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุจราจร
๓. สามารถสร้างความร่วมมือของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชนในการ บูรณาการ
๔. สามารถแก้ไขปัญหาอุบัติเหตุทางถนนและการก้าวสู่ทศวรรษด้วยความปลอดภัย


>