กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

เฝ้าระวังและแก้ไขปัญหานักเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กะรุบี

โรงเรียนบ้านกะรุบี

ตำบลกะรุบี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

เด็กเป็นทรัพยากรบุคคลที่สำคัญของประเทศชาติ ในการที่จะพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญก้าวหน้าและมั่นคง เด็กทุกคนควรได้รับการเอาใจใส่จากครอบครัวชุมชนและรัฐเพื่อส่งเสริมให้เด็กๆเหล่านั้นได้รับการศึกษา ที่รัฐจัดให้ ได้รับการพัฒนาในด้านสุขภาพร่างกายและจิตใจ โดยเฉพาะเด็กก่อนวัยเรียนเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญาจำเป็นต้องได้รับการเลี้ยงดูที่ดีที่สุด อาหารและภาวะโภชนาการที่ดี เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของเด็กในวัยเรียน ทั้งนี้โรงเรียนบ้านกะรุบี พบว่ามีนักเรียนที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ ร้อยละ 30 ทั้งนี้เด็กในจังหวัดปัตตานีมีภาวะซีดสูงที่สุดในประเทศและผู้ปกครองยังขาดความรู้ด้านโภชนาการของเด็กในวัยเรียน ตลอดจนขาดระบบเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาโภชนาการ ส่งผลให้การเรียนไม่มีประสิทธิภาพ
ประกอบกับอำนาจหน้าที่ของโรงเรียนบ้านกะรุบีตามมาตรา 39แห่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ได้กำหหนดให้สถานศึกษา มีอำนาจหน้าที่ตามที่กำหนดไว้ให้เป็นหน้าที่ของส่วนราชการนั้น ๆ โดยให้ผู้อำนวยการสถานศึกษา มีอำนาจดังนี้ 1) บริหารกิจการของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย กฎ ระเบียบข้อบังคับของทางราชการ และของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ รวมทั้งนโยบายและวัตถุประสงค์ของสถานศึกษาหรือส่วนราชการ 2) ประสานระดับทรัพยากรเพื่อการศึกษา รวมทั่งควบคุมดูแลบุคลากร การเงิน การพัสดุ สถานที่และทรัพย์สินอื่นของสถานศึกษาหรือส่วนราชการให้เป็นไปตามกฎหมาย ระเบียบและข้อบังคับของทางราชการ
ในการนี้โรงเรียนบ้านกะรุบีได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวจึงได้จัดทำโครงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาโภชนาการในเด็กวัยเรียน ประจำปีงบประมาณ 2567 ขึ้น เพื่อประเมินผลและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กวัยเรียน เด็กที่มีภาวะโภชนาการเกินหรือทุพโภชนาการได้รับการดูและแก้ไขและป้องกันโรคโลหิตจาง ตลอดจนให้ผู้ปกครองของเด็กมความรู้ ความเข้าใจเรื่องโภชนาการของเด็กนักเรียน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการเด็กในวัยเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่มเป้าหมายได้รับการประเมินและเฝ้าระวังภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียนในเรียนโรงเรียนบ้านกะรุบีร้อยละ 80 ขึ้นไป

1.00 2.00
2 เพื่อให้เด็กในวัยเรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน (อ้วน) และทุพโภชนาการ(ผอม) ได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสมและป้องกันโรคโลหิตจางในเด็กวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะโภชนาการเกิน(อ้วน) ทุพโภชนาการ(ผอม)และส่วนสูงต่ำกว่าเกณฑ์ กลุ่มเป้าหมายที่มีภาวะซีดได้รับการดูแลแก้ไขอย่างเหมาะสม ร้อยละ 80 ขึ้นไป

1.00 2.00
3 เพื่อให้ผู้ปกครองของเด็กมีความรู้ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน

กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ปกครอง ได้รับความรู้ ความเข้าใจถึงการเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหาภาวะโภชนาการในเด็กวัยเรียน ร้อยละ 80 ขึ้นไป

1.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/04/2024

กำหนดเสร็จ 29/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมย่อย อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมย่อย.............อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้ด้านโภชนาการเด็กวัยเรียน

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสงค์ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13100.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมย่อย....กรณีเด็กนักเรียน อ้วน ดูแลเรื่องการกินของเด็ก ลดการกินขนมกรุบกรอบ กรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้นโดยการจัดหาอาหารเสริม(ไข่) จำนวน 48 คน และเสริมธาตุเหล็กเพื่อป้องกันโรคโลหิตจาง จำนวน 35 คน

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย....กรณีเด็กนักเรียน อ้วน ดูแลเรื่องการกินของเด็ก ลดการกินขนมกรุบกรอบ กรณีเด็กผอม กระตุ้นให้เด็กกินมากขึ้นโดยการจัดหาอาหารเสริม(ไข่) จำนวน 48 คน และเสริมธาตุเหล็กเพื่อป้องกันโรคโลหิตจาง จำนวน 35 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าจัดซื้ออาหารเสริม(ไข่) จำนวน 96 แผงๆละ 125 บาท = 12,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสงค์ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมย่อย ชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูงเด็กนักเรียนและบันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียน พร้อมกับรายงานผลให้กับผู้ปกครองนักเรียนทราบ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมย่อย ชั่งน้ำหนัก / วัดส่วนสูงเด็กนักเรียนและบันทึกผลน้ำหนักและส่วนสูงในสมุดทะเบียน พร้อมกับรายงานผลให้กับผู้ปกครองนักเรียนทราบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เครื่องช่างน้ำหนักและวัดส่วนสูง แบบดิจิตอล จำนวน 1 เครื่อง = 2,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 เมษายน 2567 ถึง 29 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประสงค์ความสำเร็จตามวัตถุประสงค์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 27,100.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>