กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการชุมชนบ้านกองทองร่วมใจลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านกองทอง
กลุ่มคน
คณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านกองทอง
3.
หลักการและเหตุผล

ช่วงเวลาที่ผ่านมาในระยะที่ไม่นานเท่าใดนักเมื่อพิจารณาให้ถี่ถ้วนจะพบว่าอัตราการป่วยตายของคนไทย สาเหตุสำคัญเกิดจากโรคภัยที่เป็นผลมาจากพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมทั้งสิ้นซึ่งพฤติกรรมเหล่านี้อาจเรียกว่าพฤติกรรมเสี่ยงก็ว่าได้พฤติกรรมเสี่ยงดังกล่าวอาจเกิดขึ้นได้ในหลายสถานการณ์เช่น การอุปโภคบริโภคการพบปะสังสรรค์ในกลุ่มมนุษย์ การขับขี่ยานพาหนะที่ไม่ปลอดภัย เป็นต้น การขับขี่ยานพาหนะบนท้องถนนที่ไม่ปลอดภัยจนส่งผลให้ เกิดอุบัติเหตุขึ้นนั้นนับเป็นความสูญเสียอย่างรุนแรง ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย ทั้งนี้มีสถิติการเกิดอุบัติเหตุทางถนนใน ช่วงเทศกาลสงกรานต์และเทศกาลปีใหม่มีการเกิดอุบัติเหตุในแต่ละปีเป็นมากอุบัติเหตุเหล่านี้ มักมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัยด้วยกัน ได้แก่ (1) ปัจจัยด้านพฤติกรรมของผู้ขับขี่ (2) ปัจจัยด้านรถหรือยานพาหนะ (3) ปัจจัยด้านถนนและสิ่งแวดล้อม และ (4) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ อุบัติเหตุที่เป็นผลมาจาก ปัจจัยทั้ง 4 ข้างต้นนี้ เมื่อเกิดอุบัติเหตุขึ้นแล้วย่อมส่งผลให้เกิดความเสียหายขึ้นไม่ว่าจะเป็นความเสียหายที่ตี ค่าเป็นตัวเงินหรือความเสียหายที่ไม่อาจตีค่าเป็นตัวเงินได้จากความสูญเสียดังกล่าวนับว่าเป็นภัยอย่างร้ายแรง ที่จะส่งผลเสียหายต่อสังคมในภาพรวม ซึ่งรัฐบาลในยุคที่ผ่านมาจวบจนถึงรัฐบาลในยุคปัจจุบันได้เล็งเห็นความสำคัญที่จะทำการรณรงค์ป้องกันอุบัติเหตุบนท้องถนนมิให้เกิดขึ้นหรือให้เกิดขึ้นได้ในจำนวนน้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ดังที่ปรากฏตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 รัฐบาลได้จัดตั้งศูนย์อำนวยการความปลอดภัยทางถนนระดับจังหวัดและอำเภอ โดยเน้นการรณรงค์ป้องกันและลดอุบัติเหตุทางถนนช่วงเทศกาลสำคัญเป็นหลักด้วยมาตรการต่างๆที่ภาครัฐพยายามคิดรูปแบบและนำไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมแต่เมื่อพิจารณาถึงจำนวนสถิติที่ผ่านมากลับพบว่าจำนวนอุบัติเหตุบนท้องถนนก็ยังเกิดขึ้นให้เห็นโดยเฉพาะในช่วงเทศกาลสำคัญซึ่งมีจำนวนผู้ใช้รถใช้ถนนมากกว่าปกติทั้งนี้เมื่อพิจารณาแล้ว การดำเนินการโดยภาครัฐแต่เพียงฝ่ายเดียวคงไม่เพียงพอ ในยุคปัจจุบันควรที่จะคิดรูปแบบอื่นๆ โดยเฉพาะการนำภาคประชาชนในท้องถิ่นที่มีความพร้อมหรือมีศักยภาพเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันอุบัติเหตุอีกทางหนึ่ง จากการเกิดอุบัติเหตุทางถนนของหมู่ที่ 7 บ้านกองทอง จำนวน 5ครั้งในปี 2565 ที่ผ่านมา และจากการสำรวจพบจุดเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุจำนวน8จุด ทางคณะกรรมการหมู่บ้าน หมู่ที่ 7 บ้านกองทอง เห็นความสำคัญเพื่อส่งเสริมให้ประชาชนผู้ใช้เส้นทางจราจรเกิดพฤติกรรมการใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้องและปลอดภัยและมีสัญลักษณ์เตือนตามจุดเสี่ยงทางแยกทางโค้งในชุมชนจึงได้จัดทำโครงการชุมชนบ้านกองทองร่วมใจลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. พัฒนาศักยภาพคณะกรรมการลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนคณะกรรมการและประชาชนแกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนมีความรู้เรื่องการจัดการความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนของชุมชน
    ตัวชี้วัด : คณะกรรมการและประชาชนแกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนมีความรู้เรื่องการจัดการความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนของชุมชน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. ประชาชนแกนนำมีส่วนร่วมในการกำหนดและวางแผนแก้ไขจุดเสี่ยงในป้องกันอุบัติเหตุทางถนน
    ตัวชี้วัด : จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไขและอุบัติเหตุทางถนนในเขตชุมชนบ้านกองทอง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. อบรมเชิงปฏิบัติการให้คณะกรรมการลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน ครั้งที่ 1
    รายละเอียด

    เรื่อง การจัดการความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน การขับขี่ปลอดภัยและใช้รถใช้ถนนที่ถูกต้อง เป้าหมายคือ แกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน จำนวน30 คน - ค่าอาหารกลางวัน1 มื้อ จำนวน30คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 วันเป็นเงิน 1,500บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม2 มื้อ จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าวัสดุ
    * ป้ายไวนิลโครงการ ขนาด1.2 x 2 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 360บาท * ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ ขนาด 0.8 x 1 เมตร จำนวน 4 ป้าย ป้ายละ 120 บาท เป็นเงิน 480บาท

    งบประมาณ 5,640.00 บาท
  • 2. อบรมเชิงปฏิบัติการให้คณะกรรมการลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน ครั้งที่ 2
    รายละเอียด

    เรื่อง การกำหนดจุดเสี่ยง วางแผนแก้ไขจุดเสี่ยงในชุมชน และทำสัญลักษณ์เตือนตามจุดเสี่ยง เป้าหมาย  คือ แกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน จำนวน  30 คน - ค่าอาหารกลางวัน  1 มื้อ จำนวน  30  คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 1,500  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2 มื้อ จำนวน 30 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,500 บาท - ค่าสมนาคุณวิทยากร ชั่วโมงละ 600 บาท จำนวน 3 ชั่วโมง จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าวัสดุในการฝึกอบรม  เป็นเงิน 3,630 บาท
        1.สีน้ำมันสีขาว ขนาด  3.5 ลิตร  จำนวน 3 กระป๋อง กระป๋องละ 380 บาท เป็นเงิน 1,140  บาท     2.สีน้ำมันสีแดง ขนาด  3.5 ลิตร  จำนวน 3 กระป๋อง กระป๋องละ 380 บาท เป็นเงิน 1,140  บาท     3.น็อต ขนาด 3 นิ้ว จำนวน 6 กิโลกรัม กิโลกรัมละ 120 บาท เป็นเงิน 720 บาท     4.แปรงทาสี จำนวน 10 อัน อันละ 45 บาท เป็นเงิน 450 บาท     5.กระดาษกาวย่น ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 6 ม้วน ม้วนละ 30 บาท เป็นเงิน 180 บาท

    งบประมาณ 8,430.00 บาท
  • 3. ถอดบทเรียนเรื่องการจัดการความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนน
    รายละเอียด

    เป้าหมาย  คือ คณะกรรมการและประชาชนแกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนหมู่ที่ 7 บ้านกองทอง  จำนวน  40 คน - ค่าอาหารกลางวัน  1 มื้อ จำนวน  40  คน คนละ 50 บาท จำนวน 1 วัน  เป็นเงิน 2,000  บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม  2 มื้อ จำนวน 40 คน คนละ 25 บาท จำนวน 1 วัน เป็นเงิน 2,000 บาท

    งบประมาณ 4,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ธันวาคม 2565 ถึง 30 กันยายน 2566

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 7 บ้านกองทอง

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 18,070.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. คณะกรรมการและประชาชนแกนนำลดความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนมีความรู้เรื่องการจัดการความเสี่ยงอุบัติเหตุทางถนนของชุมชน
  2. จุดเสี่ยงได้รับการแก้ไขและอุบัติเหตุทางถนนในเขตชุมชนบ้านกองทองลดลง
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2566
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.วัดขวาง รหัส กปท. L3414

อำเภอโพทะเล จังหวัดพิจิตร

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 18,070.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................