กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสุขภาพดี พัฒนาการสมวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บาเระเหนือ

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบาเระเหนือ

ตำบลบาเระเหนือ อำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กเล็ก (0-6เดือน) ที่มีภาวะเสี่ยงทุพโภชนาการ

 

3.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเสริมสร้างความรู้และความเข้าใจแก่ผู้ปกครองเด็กแรกเกิด -72 เดือน ในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการ(น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม) และเพื่อส่งเสริมสุขภาพเด็กเกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหาร

1.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการร้อยละ 90 2.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีภาวะเตี้ย ≤ร้อยละ 9.5 3.เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีภาวะผอม ≤ร้อยละ 5

3.00 45.00
2 เพื่อให้เด็กแรกเกิด-72 เดือน มีส่วนสูงระดับดี มีรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการที่ดีสมวัย และลดอัตราน้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ในเด็กแรกเกิด-72 เดือน
  1. ร้อยละของเด็กแรกเกิด-72 เดือน มีส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน ไม่น้อยร้อยละ 66.6
  2. ร้อยละของเด็กแรกเกิด-72 เดือน มีพัฒนาการตามวัย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 86
  3. น้ำหนักน้อยกว่าเกณฑ์ในเด็กแรกเกิด-72 เดือน ไม่เกินร้อยละ 7
3.00 0.00
3 เพื่อให้เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ

เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ≥ร้อย 90

3.00 0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 45
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ผู้ปกครองเด็กที่มีภาวะทุพโภชนาการ (น้อยกว่าเกณฑ์ เตี้ย ผอม ค่อนข้างน้อยกว่าเกณฑ์ ค่อนข้างเตี้ย ค่อนข้างผอม)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารกลางวันผู้เข้าอบรมฯ 50 บ.x1มื้อx1วันx45 คน = 2,250 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าอบรม 25บ.x 2 มื้อx 1วันx 45คน = 2,250 บาท
  • ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 4 ชม.x 600บ. = 2,400 บาท -ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโครงการฯ ปี 2567 ขนาด 1.2 ม.x2 ม. จำนวน 1 ผืน = 600 บ.       รวมเป็นเงิน 7,500 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการร้อยละ 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7500.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-72 เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์)

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมแก้ไขปัญหาเด็กแรกเกิด-72 เดือน ที่มีภาวะทุพโภชนาการ (สำหรับเด็กที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารเสริม (นม) สำหรับเด็กเด็กที่มีภาวะโภชนาการน้อยกว่าเกณฑ์ จำนวน 15คน x 15 บ. X 60 วัน = 13,500 บ.    รวมเป็นเงิน 13,500  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. ร้อยละของเด็กแรกเกิด-72 เดือน มีส่วนสูงระดับดี มีรูปร่างสมส่วน มีพัฒนาการตามวัย และมีน้ำหนักตามเกณฑ์
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมติดตามชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด - 72 เดือน โดยภาคีเครือข่าย เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมติดตามชั่งน้ำหนักเด็กแรกเกิด - 72 เดือน โดยภาคีเครือข่าย เพื่อประเมินความก้าวหน้าของภาวะทุพโภชนาการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าจัดซื้อเครื่องชั่งน้ำหนักดิจิตอล สำหรับชั่งน้ำหนักเด็กอายุ 2-6 ปี จำนวน 7 อัน (หมู่บ้านละ 1 อัน) x 1,390 บ. = 9,730 บาท     รวมเป็นเงิน 9,730  บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤษภาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กแรกเกิด-72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังและติดตามภาวะโภชนาการ ≥ร้อย 90

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9730.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,730.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.เด็กอายุแรกเกิด -72 เดือน ได้รับการเฝ้าระวังภาวะโภชนาการ ได้ตามเป้าหมาย
2.ปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กแรกเกิด -72 เดือน ลดลง
3.เด็กอายุแรกเกิด -72 เดือนส่วนสูงระดับดีและรูปร่างสมส่วน
4.ผู้ปกครองเด็กมีความรู้ในการดูแลเด็กด้านโภชนาการและส่งเสริมพัฒนาการเด็กสมวัย
5.ผู้ปกครองมีความรู้ความเข้าใจด้านโภชนาการที่เหมาะสมสำหรับเด็กปฐมวัยที่ถูกต้อง และมีความใส่ใจในหลักโภชนาการมากขึ้น


>