กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เทศบาลตำบลทุ่งหว้า

1. นางสาวบุญเรือน เหาะหาด
2. นางอุไรวรรณ หีมปอง
3. นางสาวปราณีหยีปอง
4. นางจิตติมา ส่งข่าว
5. นางอัญชนาส้มเกลี้ยง

ณ ห้องประชุมดาหลา โรงพยาบาลทุ่งหว้า

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ด้วยสถานการณ์ปัจจุบันยุคสมัยที่เปลี่ยนไปมากทั้งทางด้านเทคโนโลยีวัตถุนิยมการแข่งขันกันทำมาหากินซึ่งให้ได้มาซึ่งปัจจัยการยังชีพเพราะเศรษฐกิจที่ไม่ค่อยดีเท่าที่ควรคนในชุมชนจึงมีความจำเป็นต้องหาอาชีพเสริมเพื่อเป็นรายได้ให้กับครอบครัวบ้างก็ออกหางานทำนอกบ้านบ้างก็ได้จ้างงานต่างๆฯลฯและด้วยเทคโนโลยียุคโซเชียลเน็ตเวิร์คงานที่ง่ายไม่เสียเวลาเช่นแม่ค้าออนไลน์ส่วนมากจะเป็นผู้หญิงที่ขายเครื่องสำอางยาอาหารเสริมและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่เสริมความงามทั้งหมดนี้ทั้งผู้ขายและผู้ซื้อต่างก็มีความเสี่ยงต่อการเกิดผลกระทบที่ได้รับจากผลิตภัณฑ์เหล่านี้บางคนไม่ได้คำนึงโทษขาดความรู้ความเข้าใจในเรื่องดังกล่าว
ดังนั้นทางชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขเทศบาลตำบลทุ่งหว้าได้มีความตระหนักและเล็งเห็นว่าคนในชุมชนเทศบาลตำบลทุ่งหว้าสมควรอย่างยิ่งที่จะได้รับความรู้ในเรื่องของโทษที่จะได้รับจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพเช่นสารสเตียรอยด์กรดวิตามินเอไวต์เอโฟตามีนเป็นต้นที่เข้าสู่ร่างกายแล้วจะทำให้เกิดอาการข้างเคียงจนเกิดโรคต่างๆได้จึงได้จัดทำโครงการเสริมสร้างความรู้เรื่องโทษจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพื่อขอให้อนุมัติงบประมาณจากคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพเทศบาลตำบลทุ่งหว้าต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อเสริมสร้างความรู้ โทษ ผลกระทบจากเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ไม่ได้มาตรฐานแก่คนในชุมชน

ประชาชนได้รับข้อมูลประชาสัมพันธ์ในการเลือกซื้อเครื่องสำอางและผลิตภัณฑ์สุขภาพที่มีคุณภาพและได้มาตรฐาน  ร้อยละ  90

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น

กำหนดเสร็จ

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 0.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>