กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 16 (2) “ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10”

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการเทศบาลเมืองสะเตงนอก
3.
หลักการและเหตุผล

โรคเรื้อรังเป็นโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสุขภาพ อันดับหนึ่งของโลก ทั้งในมิติของจำนวนผู้เสียชีวิตและภาระโรคโดยรวม จากรายงานขององค์การอนามัยโลกพบว่า ประชากรทั่วโลกร้อยละ 71 เสียชีวิตจากโรคเรื้อรัง สำหรับ ประเทศไทยพบว่าแนวโน้มการเจ็บป่วยของประชากรด้วย โรคเรื้อรังและโรคหลอดเลือดสมองเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะในกลุ่มอายุ 60 ปีขึ้นไปซึ่งผู้สูงอายุ เป็นกลุ่มวัยที่มีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังมากกว่าประชากร กลุ่มอื่นและจำนวนโรคเรื้อรังที่เป็นจะเพิ่มมากขึ้นตามอายุเมื่อมีการเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรังต่างๆ มีโอกาสจะเกิดภาวะแทรกซ้อน ทำให้ทุพลภาพ มีความพิการ มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว และหากไม่ได้รับการดูแล หรือการฟื้นฟูสภาพที่ถูกต้อง ส่งผลให้เสียชีวิตในที่สุด สถานการณ์ผู้สูงอายุป่วยติดเตียงของประเทศไทย จากการสำรวจในปี พ.ศ.2565 พบมีผู้สูงอายุป่วยติดเตียงจำนวน 255,327 คน การดูแลผู้ป่วยติดเตียงระยะยาวส่งผลต่อผู้ดูแล และครอบครัวเป็นอย่างมากเพราะผู้ป่วยติดเตียงไม่สามารถ ช่วยเหลือตัวเองได้จำเป็นต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด ทั้งด้านการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและการดูแลรักษา ซึ่งรัฐบาลได้กำหนดนโยบายการดูแลผู้สูงอายุป่วยติดเตียง ในระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care) โดย ให้ครอบครัว ชุมชน และหน่วยงานระดับท้องถิ่นเข้ามา มีส่วนร่วม ทั้งนี้ก็ยังพบปัญหาบางส่วน เนื่องจากกลุ่มผู้ป่วยเหล่านี้ต้องใช้อุปกรณ์ที่จำเป็นในการฟื้นฟูสภาพร่างกายให้เหมาะสมเช่น เบาะลม รถเข็นไม้เท้าต่างๆ เตียงแคร่ เป็นต้น ในตำบลสะเตงนอก มีจำนวนผู้ป่วยทีมีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ติดบ้าน ติดเตียง ประมาณ 130 คน ซึ่งเป็นกลุ่มผู้ป่วยที่ยังมารับการรักษาที่ศูนย์บริการเวชกรรมฟื้นฟูเทศบาลเมืองสะเตงนอก โดยผู้ป่วยบางคนยังขาดแคลนอุปกรณ์ในการช่วยเหลือตัวเอง และมีฐานะยากจน ต้องยืมใช้จากผู้อื่น และสถิติผู้ป่วยรายใหม่ที่จำหน่ายออกจากรพ.ยะลา มีจำนวนเฉลี่ยอย่างน้อย 5 ราย/เดือน และจากผลการสำรวจความต้องการอุปกรณ์ในผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ยังมีผู้ป่วยอีก 30 รายต้องการอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ศูนย์พัฒนาและฟื้นฟูคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุและผู้พิการ เป็นศูนย์ที่ตั้งขึ้นเพื่อการดูแลผู้สูงอายุและผู้พิการ ให้สามารถมีคุณภาพชีวิตในสังคมได้ปกติ จึงเห็นความสำคัญของปัญหาการขาดแคลนอุปกรณ์ในกลุ่มผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว ผู้พิการ โดยส่วนใหญ่จะเป็นผู้สูงอายุ จึงได้จัดทำโครงการธนาคารสร้างสุขชุมชน สนับสนุนอุปกรณ์ให้ยืมใช้เพื่อฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน เพื่อบรรเทาทุกข์ของประชาชนที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว สามารถมีอุปกรณ์ที่จำเป็นในการฟื้นฟูสุขภาพร่างกายที่บ้าน จนกว่าสุขภาพจะดีขึ้น หรือแม้จะเป็นการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายของชีวิตให้ไม่ต้องทนทุกข์ ทรมานกับการเจ็บป่วยเรื้อรังอย่างอนาถาเกินไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. 1.เพื่อให้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว ที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น ได้ใช้อุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
    ตัวชี้วัด : 1.ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังและผู้ที่มีปัญหาด้านการเคลื่อนไหวที่ขาดแคลนอุปกรณ์ฟื้นฟูที่จำเป็น มีอุปกรณ์ช่วยฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
  • 2. 2.เพื่อให้ผู้ป่วยมีปัญหาด้านการเคลื่อนไหว มีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดความพิการ และลดภาวะพึ่งพิงได้
    ตัวชี้วัด : 2. ร้อยละ 60 ของผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพอย่างต่อเนื่อง มีคะแนนความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวันเพิ่มขึ้น (Barthel ADL index)
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
    รายละเอียด

    ลงเยี่ยมบ้านผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวและผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ พร้อมทีมสหวิชาชีพทางสาธารณสุข (พยาบาลวิชาชีพ นักกายภาพบำบัด อสม. เป็นต้น) เพื่อประเมินสุขภาพ และสอนให้ความรู้ในการช่วยเหลือตนเองในชีวิตประจำวัน และการใช้อุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่ถูกต้อง  (ไม่ใช้งบประมาณ)

    งบประมาณ 0.00 บาท
  • 2. จัดซื้ออุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพที่บ้าน ให้ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหวยืมใช้ เพื่อฟื้นฟูสุขภาพตนเองที่บ้าน
    รายละเอียด
    • ไม้เท้าอลูมีเนียมแบบสามขา    จำนวน 5 อัน  อันละ 600 บาท              เป็นเงิน  3,000 บาท
    • ไม้เท้าช่วยเดิน 4 ขา (Walker)  จำนวน 5 อัน  อันละ 700 บาท              เป็นเงิน  3,500 บาท
    • รถนั่งคนพิการชนิดพับได้        จำนวน 3 อัน อันละ 4,500 บาท            เป็นเงิน 13,500 บาท
    • เบาะลม                            จำนวน 3 ชุด ชุดละ 4,500 บาท            เป็นเงิน 13,500 บาท
    • เครื่องผลิตออกซิเจน 5 ลิตร      จำนวน 1 เครื่อง เครื่องละ 2,1000 บาท  เป็นเงิน 21,000 บาท
    • ชุดถังออกซิเจนทางการแพทย์ ขนาด 1.5 Q พร้อมรถเข็น      จำนวน 2 ชุด ชุดละ 6,500 บาท            เป็นเงิน 13,000 บาท
    • เตียงผู้ป่วยปรับมือ 2 ไกร์        จำนวน 2 เตียง เตียงละ 16,500 บาท      เป็นเงิน 33,000 บาท
    • เตียงแคร่ไม้ไผ่                    จำนวน 5 เตียง เตียงละ 1,000 บาท          เป็นเงิน  5,000 บาท
    งบประมาณ 105,500.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 22 ก.ค. 2567 ถึง 22 ก.ค. 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 105,500.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

ผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการเคลื่อนไหว และผู้ป่วยโรคเรื้อรังทีไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้ มีอุปกรณ์ฟื้นฟูสุขภาพตนเองที่จำเป็น และสามารถฟื้นฟูสภาพร่างกายให้ดีขึ้นได้

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2561 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองสะเตงนอก รหัส กปท. L4143

อำเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2561 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 105,500.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................