แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย รหัส กปท. L4058
อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
โรคไข้เลือดออกเป็นโรคติดต่อที่เป็นปัญหาสาธารณสุขที่สำคัญ ซึ่งมียุงลายเป็นพาหะนำโรคที่สำคัญ การระบาดของโรคไข้เลือดออกเกิดขึ้นได้ต่อเนื่องตลอดปี โดยเฉพาะช่วงฤดูฝนจะพบผู้ป่วยเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะในกลุ่มเด็กวัยเรียนที่มีอายุตั้งแต่ ๕-๑๔ ปี รองลงมาคือเด็กก่อนวัยเรียนและเด็กโตตามลำดับ ปัจจุบันยังพบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกในผู้ใหญ่กลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุด้วย และเนื่องจากฝนที่ตกลงมาทำให้เกิดน้ำขังภาชนะต่าง ๆ เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายซึ่งเป็นพาหะนำโรคได้อย่างดี การป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีประสิทธิภาพ ควรมีการกำจัดตัดวงจรการเจริญเติบโตของยุงลายโดยการทำความสะอาด เก็บกวาดไม่ให้มีภาชนะขังน้ำที่เป็นแหล่งเพาะพันธ์ุลูกน้ำยุงลาย เป็นการลดจำนวนประชากรยุงลายในพื้นที่ต่อไป ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ ที่ผ่านมา (๑ ต.ค. ๒๕๖๕ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๖) มีรายงานข้อมูลผู้ป่วยสงสัยไข้เลือดออกในเขตตำบลสงเปือย ๒ ราย ในปีงบประมาณ ๒๕๖๖ (๑ ต.ค. ๒๕๖๓ - ๓๐ ก.ย. ๒๕๖๖) มีรายงานผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ๗ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ๕๑๙.๒๘ ต่อแสนประชากร ซึ่งค่ามาตรฐานอยู่ที่ไม่เกิน ๕๐ ต่อแสนประชากร และในปีงบประมาณ ๒๕๖๓ มีผู้ป่วยยืนยันโรคไข้เลือดออก จำนวน ๑ ราย คิดเป็นอัตราป่วย ต่อแสนประชากร โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลสงเปือย ได้ตระหนักและเห็นถึงความสำคัญของปัญหาโรคไข้เลือดออกจึงได้จัดทำโครงการพัฒนาสิ่งแวดล้อม กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลายป้องกันโรคไข้เลือดออก ในเขตตำบลสงเปือย ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๗ เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือ ควบคุมโรคไข้เลือดออก ซึ่งเป็นการลดความเสี่ยงของประชาชนในพื้นที่ต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกเพื่อควบคุมการระบาดของโรคต่อไป
-
1. เพื่อลดจำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
2. เพื่อกำจัดลูกน้ำยุงลาย และยุงลายพาหะนำโรคในบ้าน ชุมชน โรงเรียนตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
-
3. เพื่อเป็นการกระตุ้นให้ประชาชนเห็นความสำคัญและตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออกตัวชี้วัด :ขนาดปัญหา เป้าหมาย 0.00
- 1. ขั้นตอนการเตรียมรายละเอียด
๑.ประชุมหารือร่วมกับผู้นำชุมชน และประธาน อสม.ทุกหมู่บ้าน ๒.จัดทำโครงการฯ เสนอประธานกองทุนหลักประกันสุขภาพตำบลสงเปือย ๓.จัดทำแบบปฏิบัติการตามโครงการ ๔.ประสานงานชี้แจงโครงการฯ แก่กลุ่มเป้าหมายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกแห่ง ๕.ประสานงานชี้แจงเกี่ยวกับการดำเนินโครงการฯ แก่ ผู้นำชุมชน ประธาน อสม. และผู้ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินโครงการฯ
งบประมาณ 0.00 บาท - 2. ขั้นดำเนินการรายละเอียด
๑.ประชาสัมพันธ์โครงการ ๒.ประชุมเชิงปฏิบัติการในการควบคุมป้องกันโรคไข้เลือดออก กำจัดแหล่งเพาะพันธุ์ลูกน้ำยุงลาย สุ่มไขว้สำรวจภาชนะเสี่ยง และปรับปรุงสิ่งแวดล้อมทางกายภาพพร้อมทั้งใส่ทรายอะเบทในชุมชน โดย อสม. ๓.รณรงค์การกำจัดลูกน้ำยุงลายด้วยวิธี ๕ ป. ๑ ข. ทุกวันศุกร์ เพื่อลด ๓ โรค (โรคไข้เลือดออก,โรคชิกุนคุนยา และโรคไข้หวัดซิก้า) การป้องกันโรคในสถานการณ์ปกติ - ในโรงเรียนและศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก พ่นหมอกควันทุกแห่ง เดือนละ ๑ ครั้ง - อสม.สุ่มไขว้สำรวจลูกน้ำยุงลาย ๙ หมู่บ้าน ออกสุ่มไขว้เดือนละ ๑ ครั้ง ๔.ขั้นประเมินผล ติดตามการดำเนินงานตามโครงการฯ สรุปปัญหาและข้อเสนอแนะเมื่อสิ้นสุดโครงการฯ
งบประมาณ 35,170.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 กรกฎาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
พื้นที่หมู่บ้านทั้ง ๙ หมู่บ้าน,โรงเรียน ๔ แห่ง,ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ๒ แห่ง และวัด ๖ แห่ง
รวมงบประมาณโครงการ 35,170.00 บาท
๑.จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกลดลง ๒.ประชาชนตระหนักในการดูแลตนเองให้ปลอดภัยจากโรคไข้เลือดออก
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย รหัส กปท. L4058
อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สงเปือย รหัส กปท. L4058
อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................