กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

คัดแยกขยะบ้านบ่อนนท์ ปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลเกาะนางคำ

โครงการคัดแยกขยะบ้านบ่อนนท์ ปี 2567

1 นางรวงทิพย์ ศิริ
2 นางสุพร ทองประสม
3 นางกันยา แก้วมะณี
4 นางวินิจ คุ้ยหลู
5 นางชลันดา ไชยถาวร

ตำบลเกาะนางคำ อำเภอปากพะยูน จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

สืบเนื่องจากในพื้นที่หมู่ที่ 9 บ้านบ่อนนท์ มีปริมาณขยะเพิ่มมากขึ้น จากการขยายตัวของชุมชน เศรษฐกิจและจำนวนประชากรที่มีเพิ่มมากขึ้น จึงจัดทำโครงการคัดแยกขยะบ้านบ่อนนท์ ปี 2567 ขึ้น เพื่อส่งเสริมการจัดการขยะอย่างถูกวิธี คัดแยกขยะแต่ละประเภทก่อนทิ้ง แยกการจัดเก็บหรือกำจัดให้สอดคล้องตามลักษณะของประเภทขยะและลดปัญหาผลกระทบต่างๆ ที่ตามมา เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดขยะ ลดภาระการฝังกลบ จัดการปัญหาขยะตกค้างภายในชุมชนอย่างเป็นระบบ ลดการสะสมของเชื้อโรค โดยเริ่มตั้งแต่การลดปริมาณขยะจากแหล่งกำเนิด ส่งเสริมการใช้ถังขยะเปียก ลดโลกร้อน เพื่อเป็นการลดปริมาณก๊าซมีเทนที่เป็นต้นเหตุของการเกิดก๊าซเรือนกระจก และลดค่าใช้จ่ายในการกำจัดขยะ เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนและชุมชนได้ตระหนักและรับรู้ถึงความจำเป็นในการคัดแยกขยะ และการใช้ประโยชน์จากขยะ ในปัจจุบันสามารถแยกประเภทขยะมูลฝอยได้ 4 ประเภท ดังนี้ ขยะย่อยสลายได้ ขยะรีไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทั่วไป ดังนั้น การจัดการขยะต้นทางเพื่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และยั่งยืน ส่งผลให้ปริมาณขยะมูลฝอยลดลง โดยนำแนวทาง ลดการใช้, ใช้ซ้ำ และแปรรูปใช้ใหม่ (Reduce Reuse Recycle : 3Rs) ภาคีเครือข่ายบ้านบ่อนนท์ ตำบลเกาะนางคำ จึงได้จัดทำโครงการคัดแยกขยะบ้านบ่อนนท์ ปี 2567 เพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีความรู้ เกิดจิตสำนึก และมีส่วนร่วมในการดำเนินงานด้านการคัดแยกขยะ สามารถนำไปใช้ประโยชน์และนำไปกำจัดอย่างถูกหลักสุขาภิบาล เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีอย่างอย่างยืน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนสามารถจัดการขยะได้อย่างถูกต้อง

ร้อยละ 60 ของจำนวนประชาชนมีการคัดแยกขยะได้ถูกต้องในครัวเรือน

0.00
2 เพื่อลดปริมาณขยะชุมชนทั้งหมดที่ครัวเรือนผลิตต่อวัน

ร้อยละ 80 ของปริมาณขยะที่ครัวเรือนผลิตต่อวัน ลดลง

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 37
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/05/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ชี้แจงโครงการแก่ อสม. ทั้ง 5 คน

ชื่อกิจกรรม
ชี้แจงโครงการแก่ อสม. ทั้ง 5 คน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ชี้แจงโครงการแก่ อสม. ทั้ง 5 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 จัดหาถังสำหรับสาธิตวิธีการทำถังขยะอินทรีย์

ชื่อกิจกรรม
จัดหาถังสำหรับสาธิตวิธีการทำถังขยะอินทรีย์
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าถังขยะเปียก จำนวน 15  ใบ ใบละ 120 บาท เป็นเงิน  1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1800.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะชุมชนแก่ครัวเรือนนำร่อง และฝึกปฏิบัติทำถังขยะเปียก และขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ทำถังขยะเปียก โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้เรื่องการจัดการขยะชุมชนแก่ครัวเรือนนำร่อง และฝึกปฏิบัติทำถังขยะเปียก และขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ทำถังขยะเปียก โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุข
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน  37 คน คนละ 1 มื้อ มื้อละ 35 บาท เป็นเงิน  1,295 บาท
  • ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 2 คน 1 ชั่วโมง ชั่วโมงละ 600 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท
  • ค่าป้ายไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 X 2.5 ตร.ซม. เป็นเงิน 450 บาท รวมเป็นเงิน 2,945 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2945.00

กิจกรรมที่ 4 จัดทำกิจกรรมขยะแลกไข่แลกของในชุมชน ทุก ๆ 2 เดือนจัดทำกิจกรรมขยะแลกไข่แลกของในชุมชน ทุก ๆ 2 เดือน

ชื่อกิจกรรม
จัดทำกิจกรรมขยะแลกไข่แลกของในชุมชน ทุก ๆ 2 เดือนจัดทำกิจกรรมขยะแลกไข่แลกของในชุมชน ทุก ๆ 2 เดือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าสิ่งของ ได้แก่ สบู่ ไข่ ของใช้ ฯลฯ เป็นเงิน 5,255 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
5255.00

กิจกรรมที่ 5 ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 6 ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ติดตามการดำเนินการติดตั้งถังขยะเปียกของผู้เข้าร่วมโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 10,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ประชาชนในหมู่ที่ 9 บ้านบ่อนนท์ เกิดจิตสำนึก ตระหนัก และมีความรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน
2. ประชาชนจัดการขยะได้อย่างมีประสิทธิภาพ คัดแยกขยะได้อย่างถูกวิธี
3. ปริมาณขยะเปียกลดลง ประชาชนนำขยะไปใช้ประโยชน์ ลดการเกิดภาวะโลกร้อน


>