กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ก่อเอ้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

สุขภาพแข็งแรง ชุมชนเข้มแข็ง ร่วมแรงร่วมใจ ด้วยมือของเรา

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ก่อเอ้

องค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้

1.นางนงคราญเทพมุสิก2.นางสาวศุภกานต์รัตนจารุวัฒน์3.นางสาวณฐวรสะอาดศรี4.นางสาววิฬารีครองยุติ

ตำบลก่อเอ้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)

 

94.57
2 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

95.83
3 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

94.27
4 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

76.29
5 ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

 

100.00
6 ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

 

71.01
7 ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

 

86.15
8 ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

 

14.29
9 ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

 

100.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กปฐมวัย

ร้อยละของเด็กปฐมวัย 2-4 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับเบา ปานกลาง และมาก สะสมอย่างน้อย 180 นาทีต่อวัน)

94.57 95.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

95.83 96.83
3 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

94.27 96.27
4 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

76.29 77.29
5 เพื่อเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่สาธารณะที่เอื้อต่อการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

ร้อยละของการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สาธารณะในการมีกิจกรรมทางกายของคนในชุมชน

100.00 100.00
6 เพื่อเพิ่มการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

ร้อยละของคนที่มีการสัญจรโดยการเดินหรือใช้จักรยานในชุมชน

71.01 72.00
7 เพื่อเพิ่มการออกกำลังกายในชุมชน

ร้อยละของคนที่ออกกำลังกายในชุมชน

14.29 19.29
8 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

86.15 87.15
9 เพื่อเพิ่มการเรียนการสอนในลักษณะ Active learning และ Active play ในโรงเรียนและศูนย์ฯเด็กเล็ก

ร้อยละของเวลาในโรงเรียนที่มีการเรียนการสอนและการเล่นแบบกระฉับกระเฉง (Active play Active learning)

86.15 87.15
10 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายในสถานที่ทำงาน

ร้อยละของสำนักงานหรือหน่วยงานราชการ ที่มีกิจกรรมส่งเสริมกิจกรรมทางกาย เช่น การออกกำลังกาย การมีการเคลื่อนไหวระหว่างการทำงาน

100.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 20
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 20
กลุ่มวัยทำงาน 55
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 04/06/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. ประชุมชี้แจงโครงการ

ชื่อกิจกรรม
1. ประชุมชี้แจงโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การประชุมชี้แจงโครงการผู้รับผิดชอบโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจให้กับคณะทำงานให้มีเป้าหมายที่ตรงกัน กระบวนการ เริ่มต้นด้วย 1. แต่งตั้งคณะทำงาน2. ชี้แจงรายละเอียดโครงการ3. แหล่งงบประมาณ4.สรุปการประชุม มีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย ผู้บริหารท้องถิ่น อสม. ผู้นำชุมชน ครู ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประมาณ 70 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กรกฎาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. คณะทำงานมีความเข้าใจที่ตรงกัน
  2. ได้แผนปฏิบัติการโครงการร่วมกัน
  3. คณะทำงานและประชาชนได้กำหนดเป้าหมายร่วมกันมีสุขภาพแข็งแรง  ชุมชนเข้มแข็ง มีความสมัครสมานสามัคคี
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 ปรับปรุงพื้นภูมิทัศน์ พื้นที่สาธารณะบริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้

ชื่อกิจกรรม
ปรับปรุงพื้นภูมิทัศน์ พื้นที่สาธารณะบริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

คณะทำงานโครงการร่วมกันลงพื้นที่ออกกแบบเพื่อปรับปรุงพื้นภูมิทัศน์ พื้นที่สาธารณะบริเวณองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้ เช่น การปรับปรุงบริเวณที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้ มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่ออกกำลังกาย สนามเด็กเล่น จุดเช็คอิน ลานศิลปะ ศูนย์เรียนรู้อาชีพ เป็นต้น

ระยะเวลาดำเนินงาน
4 มิถุนายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้พื้นที่สาธารณะที่ออกแบบร่วมกัน ที่ประกอบด้วยการปรับปรุงบริเวณที่ทำการองค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้ มีสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ สถานที่ออกกำลังกาย สนามเด็กเล่น จุดเช็คอิน ลานศิลปะ ศูนย์เรียนรู้อาชีพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
100000.00

กิจกรรมที่ 3 สรุป และติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
สรุป และติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การสรุปบทเรียน และติดตามประเมินผล เพื่อให้เกิดข้อเสนอแนะในการปรับปรุงพื้นที่สาธารณะให้เหมาะสมกับทุกคนทุกวัย ผู้เข้าร่วมประกอบด้วยผู้บริหารท้องถิ่น อสม. ผู้นำชุมชน ครู ผู้ปกครอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ประมาณ 70 คน

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 กันยายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้พื้นที่สาธารณะที่เหมาะสมกับทุกกลุ่มวัย
2.ได้พื้นที่รองรับประชาชนที่เป็นระเบียบ สวยงามมากขึ้น 3.ได้ทราบปัญหาและอุปสรรคของผู้ใช้งาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 100,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ประชาชนมีสุขภาพแข็งแรง
2.ชุมชนเข้มแข็ง
3.มีความสมัครสมานสามัคคี


>