กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลบ้านโหนด ประจำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.บ้านโหนด

องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนด

ตำบลบ้านโหนด อำเภอสะบ้าย้อย จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การมีสุขภาพที่ดี เป็นอีกหนึ่งตัวแปรสำคัญที่แสดงถึงการมีคุณภาพชีวิตที่ดี ดังนั้น การส่งเสริมสุขภาพประชาชนในพื้นที่ จึงเป็นการวางรากฐานให้ประชาชนได้พัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีต่อไป ปัจจุบันพบว่าประชาชนบางกลุ่มยังขาดการสร้างเสริมสุขภาพ เนื่องจากภาวะความยากจนจากปัญหาเศรษฐกิจ จึงให้ความสำคัญกับปัญหาด้านสาธารณูปโภคมากกว่าความตระหนักในการดูแลด้านสุขภาพอนามัย ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ ขาดความเท่าเทียมในการเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุข ตลอดจนขาดสิทธิการรักษาพยาบาล จากการตรวจสุขภาพขั้นพื้นฐานของประชาชน ในพื้นที่ตำบลบ้านโหนด พบว่าประชาชน กลุ่มเสี่ยง มีปัญหาความผิดปกติเกี่ยวกับค่าระดับน้ำตาลในเลือด ค่าความดันโลหิต และดัชนีมวลกาย ที่สูงกว่าเกณฑ์ปกติ ซึ่งโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลได้ตรวจคัดกรองระดับน้ำตาลในเลือด ความดันโลหิต และดัชนีมวลกาย ต่อเนื่องทุกปี ทั้งนี้ยังได้เล็งเห็นความสำคัญการตรวจสุขภาพรายการอื่นๆ เพิ่มเติม เช่น ระดับไขมันในเลือด (Cholesterol, Triglyceride, HDL, LDL) ระดับกรดยูริกในเลือด (Uric acid) ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) การทำงานของตับ (SGOT, SGPT) การทำงานของไต (BUN, Creatinine) และเอกซเรย์ทรวงอก (Chest X-Ray)
เพื่อเป็นการวางรากฐานการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ให้สามารถเข้าถึงสิทธิการรักษาพยาบาล การบริการด้านสาธารณสุขอย่างทั่วถึง เพื่อการติดตามให้คำแนะนำด้านการดูแลสุขภาพ ที่ถูกต้อง ลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพของประชาชน องค์การบริหารส่วนตำบลบ้านโหนดได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการตรวจคัดกรองสุขภาพประชาชนกลุ่มเสี่ยง ตำบลบ้านโหนด ประจำปี 2567 ขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพขั้นพื้นฐาน และได้รับคำแนะนำด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ

ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพขั้นพื้นฐาน และได้รับคำแนะนำด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ

0.00
2 เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการดูแลสุขภาพ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ

ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการดูแลสุขภาพ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 210
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 11/06/2024

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ตรวจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ตรวจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

 

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 มิถุนายน 2567 ถึง 24 มิถุนายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
145097.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 145,097.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

9.1. เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการตรวจคัดกรองสุขภาพขั้นพื้นฐาน และได้รับคำแนะนำด้านการดูแลสุขภาพที่ถูกต้อง เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ
9.๒. เพื่อให้ประชาชนได้มีความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง ในการดูแลสุขภาพ เพื่อลดอัตราการเกิดโรคเรื้อรัง ส่งเสริม และฟื้นฟูสุขภาพ


>