กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

ส่งเสริมสุขภาพและอนามัยนักเรียน

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โนนสำราญ

โรงเรียนบ้านจันทน์หอมตาเสก,ท่าสว่าง,รุ่งอรุณ(กองทัพบกอุปถัมภ์),บ้านโนนสำราญ

1.นายสมเกียรติ ไผ่เลี้ยง
2.นายจินดา ศรีรวัฒน์
3.นายสมพงษ์ จมหงษ์
4.นายสวรรค์ ศรีจันทร์
5.นางสาวปริญดา จันทร์ค้ำ

โรงเรียนบ้านจันทน์หอมตาเสก,ท่าสว่าง,รุ่งอรุณ(กองทัพบกอุปถัมภ์),บ้านโนนสำราญ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

 

0.71
2 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

0.33
3 ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

 

0.00
4 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

 

0.00
5 ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

 

0.00
6 ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

 

75.00
7 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

 

5.43
8 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย

 

9.08
9 ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

 

8.80
10 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

 

4.00
11 ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

 

7.00
12 ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

 

5.00
13 ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

 

0.00
14 ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

 

33.33

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน

ร้อยละของตัวอย่างอาหารที่ตรวจพบสารปนเปื้อน (สารเร่งเนื้อแดงในเนื้อสุกร สารกันราหรือกรดซาลิซิลิค สารฟอกขาว สารบอแรกซ์ สารฟอร์มาลิน หรือสารละลายฟอร์มาลดีไฮด์ และยาฆ่าแมลงหรือสารเคมีกำจัดศัตรูพืช)

0.00 0.00
2 เพื่อลดเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

ร้อยละของเด็กแรกเกิดที่มีน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม

0.00 0.00
3 เพื่อเพิ่มเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

ร้อยละของเด็ก 0-6 เดือน ที่กินนมแม่อย่างเดียว 6 เดือน

75.00 90.00
4 เพื่อลดภาวะอ้วนในเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะอ้วน

4.00 2.00
5 เพื่อเพิ่มคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

ร้อยละของคนในชุมชนที่กินผัก ผลไม้ อย่างน้อยวันละ 500 กรัม

0.00 30.00
6 เพื่อลดคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัด เป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

ร้อยละของคนในชุมชนที่ดื่มน้ำอัดลมและเครื่องดื่มรสหวานจัดเป็นประจำ (มากกว่า 5 วันต่อสัปดาห์)

33.33 20.00
7 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงตั้งครรภ์

ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะซีด

0.00 0.00
8 เพื่อลดภาวะผอม ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะผอม

5.43 2.50
9 เพื่อลดภาวะเตี้ยในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะเตี้ย

9.08 5.00
10 เพื่อเพิ่มภาวะสูงดีสมส่วนในเด็ก 6-14 ปี

ร้อยละของเด็ก 6-14 ปี ที่มีภาวะสูงดีสมส่วน

7.00 9.00
11 เพื่อเพิ่มพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์

ร้อยละของพื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ เมื่อเทียบกับพื้นที่เกษตรทั้งหมด

0.71 10.00
12 เพื่อลดภาวะอ้วน ในเด็กอายุ 0-5 ปี

ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี ที่มีภาวะอ้วน

8.80 5.00
13 เพื่อลดภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2 ของประชากร (อายุมากกว่า 18 ปี)

ร้อยละของประชากร อายุ 18 ปีขึ้นไป ที่มีภาวะน้ำหนักเกิน อ้วนระดับ 1 และอ้วนระดับ 2

5.00 3.00
14 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

0.33 0.15

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน 22
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 535
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2023

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 วางแผนการจัดทำโครงการ

ชื่อกิจกรรม
วางแผนการจัดทำโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมชี้แจงโครงการ 2.แต่งตั้งคณะกรรมการ 3.มอบหมายงาน 4.ขออนุมัติโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
15 มีนาคม 2567 ถึง 4 เมษายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพภายในช่องปากของตนเอง 2.นักเรียนรู้เท่าทันพิษภัย อันตราย และป้องกันตนเองให้ห่างไกลยาเสพติด 3.นักเรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงร่างกาย อารมณ์ รู้จักการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยห่างไกลจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน 4.นักเรียนรู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้ถูกสุขลลักษณะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
14000.00

กิจกรรมที่ 2 อบบรม

ชื่อกิจกรรม
อบบรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมนักเรียนแกนนำส่งเสรสิมสุขภาพและอนามัยนักเรียน 2.ขยายผลสู่นักเรียนในโรงเรียน

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 พฤษภาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพภายในช่องปากของตนเอง 2.นักเรียนรู้เท่าทันพิษภัย อันตราย และป้องกันตนเองให้ห่างไกลยาเสพติด 3.นักเรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงร่างกาย อารมณ์ รู้จักการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยห่างไกลจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน 4.นักเรียนรู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้ถูกสุขลลักษณะ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
30000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 44,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.นักเรียนมีความรู้ในการดูแลรักษาสุขภาพภายในช่องปากของตนเอง
2.นักเรียนรู้เท่าทันพิษภัย อันตราย และป้องกันตนเองให้ห่างไกลยาเสพติด
3.นักเรียนรู้ถึงการเปลี่ยนแปลงร่างกาย อารมณ์ รู้จักการมีเพศสัมพันธ์ที่ปลอดภัยห่างไกลจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ และป้องกันการตั้งครรภ์ในวัยเรียน
4.นักเรียนรู้จักการจัดการสิ่งแวดล้อมภายในโรงเรียนให้ถูกสุขลลักษณะ


>