กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการจัดการขยะอินทรีย์ระดับครัวเรือนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุง ชุมชนบ้านลำปำ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองพัทลุง

ชุมชนบ้านลำปำ

1.นางจินตนาเวชมงคล
2.นางภาวิณีแก้วภิบาล
3.นางจันทร์แรมรัตนขวัญ
4.นางสุฑาสินีช่วยเอี่ยม
5.นางเพ็ญสุขมูสิกะปาละ

ชุมชนบ้านลำปำ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานขยะ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

พบว่ามีปริมาณการเกิดขยะรวมกันทั้งประเทศ 27.06 ล้านตันต่อปี คิดเป็นประมาณ 74,130 ตันต่อวัน เฉลี่ยเป็นปริมาณขยะ 1.14 กิโลกรัมต่อคนต่อวันยังไม่รวมขยะตกค้างสะสม และมีปริมาณขยะเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและการขาดการจัดการอย่างมีระบบ ก่อให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมอย่างมากมาย ปัญหาจากขยะชุมชนนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นพร้อมๆ กับการขยายตัวของเมืองและประชากร ประกอบกับการขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะมูลฝอย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 ข้อที่ 1เพื่อส่งเสริมให้ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงมีการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ประชาชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงมีการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนอย่างถูกวิธีร้อยละ 80

8.00 8.00
2 ข้อที่ 2เพื่อให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกและการจัดการขยะที่ต้นทางในครัวเรือน

ประชาชนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการคัดแยกและการจัดการขยะร้อยละ 90

8.00 8.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง 16
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 25/03/2024

กำหนดเสร็จ 31/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 1. อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ป้ายไวนิลโครงการฯ ขนาด 1.2 x 2.4 ม. จำนวน 1 ป้ายเป็นเงิน 590 บาท 2.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ จำนวน 21 ชุดๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,260 บาท 3.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 21 ชุดๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,260 บาท 4.ค่าถ่ายเอกสารสี เป็นเงิน 150 บาท 5.ค่าวัสดุอุปกรณ์ เป็นเงิน 180 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
3440.00

กิจกรรมที่ 2 2. การทำปุ๋ยหมัก

ชื่อกิจกรรม
2. การทำปุ๋ยหมัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.มูลวัว จำนวน 32 กระสอบๆละ 85 บาท เป็นเงิน 2,720 บาท 2.ฟางอัดก้อน จำนวน 32 ก้อนๆละ 85 บาท เป็นเงิน 2,720 บาท. 3.เข่งพลาสติก จำนวน 32 ใบๆละ 135 บาท เป็นเงิน 4,320 บาท 4.เข่งพลาสติก จำนวน 20 ใบๆละ 90 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 กรกฎาคม 2567 ถึง 31 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11560.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 15,000.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถั่วเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ชุมชนในเขตเทศบาลเมืองพัทลุงมีการจัดการขยะอินทรีย์ที่ต้นทางและมีการนำขยะมาใช้ประโยชน์อย่างถูกวิธีเพื่อลดปริมาณขยะมูลฝอยส่งผลดีต่อสภาพแวดล้อมและสุขภาพประชาชน
2. ประชาชนในชุมชนเกิดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการขยะอินทรีย์ในครัวเรือนอย่างถูกวิธี


>