กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนด

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลลำห้วยหลัว

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ , แผนงานอนามัยแม่และเด็ก

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด

 

5.00
2 ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

 

31.19

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดภาวะซีดในหญิงวัยเจริญพันธุ์

ร้อยละของหญิงวัยเจริญพันธุ์ ที่มีภาวะซีด ลดลง

5.00 2.00
2 เพื่อลดประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

ร้อยละของประชาชนที่ตรวจพบสารเคมีตกค้างในเลือดเกินมาตรฐานความปลอดภัย

31.19 28.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 50
กลุ่มผู้สูงอายุ 50
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด 20
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 09/08/2023

กำหนดเสร็จ 31/10/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมทบทวนข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของคนในพื้นที่

ชื่อกิจกรรม
ประชุมทบทวนข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของคนในพื้นที่
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ทบทวนข้อมูลสถานการณ์สุขภาพของคนในพื้นที่ทุกกลุ่มวัย 2.วิเคราะห์ความเสี่ยงเพื่อคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมโครงการ 3.ออกแบบกิจกรรมการดำเนินงานร่วมกับผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง

ระยะเวลาดำเนินงาน
16 สิงหาคม 2566 ถึง 16 สิงหาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ข้อมูลสถานการณ์ความเสี่ยงด้านสุขภาพของคนในพื้นที่เพื่อวางแผนการดำเนินงานกิจกรรมสุขภาพ 2.ได้กลุ่มเป้าหมายในการเข้าร่วมอบรมและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ 3.รูปแบบกิจกรรม กำหนดการในการจัดกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดและผู้มีความเสี่ยงด้านพฤติกรรมสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ด้านการสร้างเสริมสุขภาพเชิงรุก เพื่อลดภาวะคลอดก่อนกำหนดและผู้มีความเสี่ยงด้านพฤติกรรมสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.การตรวจสุขภาพกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่ เพื่อคัดกรองความเสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด 2.อบรมให้ความรู้กลุ่มเสี่ยง ได้แก่ กลุ่มหญิงตั้งครรภ์ ในด้านการดูแลสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงการคลอดก่อนกำหนด 3.อบรมให้ความรู้อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) ในการให้ความรู้กับคนในชุมชนด้านการดูแลสุขภาพเพื่อลดภาวะเสี่ยงการคลอดก่อนกำหนด การดูแล ปฐมพยาบาลเบื้องต้นเมื่อเหตุการณ์กับกลุ่มเสี่ยง

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 ตุลาคม 2566 ถึง 10 ตุลาคม 2566
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.กลุ่มเสี่ยงได้รับความรู้ในการดูแลสุขภาพเพื่อลดภาวะความเสี่ยงการคลอดก่อนกำหนด 2.อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) มีความรู้ ทักษะ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเมื่อเกิดภาวะการคลอดก่อนกำหนดของกลุ่มเสี่ยง 3.เกิดกลไกเฝ้าระวังในการป้องกัน ลดความเสี่ยงภาวะการคลอดก่อนกำหนด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
13500.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 13,500.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ลดอัตราความเสี่ยง ภาวะคลอดก่อนกำหนดในหญิงตั้งครรภ์ในพื้นที่
2.คนในพื้นที่รู้จักการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย การดูแลสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงไปสู่โรคอื่นๆ


>