กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการ เด็กกัมปงยุคใหม่ ใส่ใจสุขภาพ ประจำปี 2567

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สะเอะ

ห้องเรียนกัมปงตำบลสะเอะ

1.นายอับดุลฮาฟีซ หะมิมะดิง
2.นายซูฮัยนูรดีนกานา
3.นส.ซาธิดา เจ๊ะโซ๊ะ
4.นายสอดิก มาหะมะ
5.นายนาร์ดินเทษา

ห้องเรียนกัมปงสืบค้นทักษะชีวิต ตำบลสะเอะ

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานสิ่งเสพติด , แผนงานกิจกรรมทางกาย

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 60 นาทีต่อวัน)

 

30.00
2 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

25.00
3 ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

 

40.00
4 จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

 

4.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในเด็กและวัยรุ่น

ร้อยละของเด็กและวัยรุ่นอายุ 5-17 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 60 นาทีต่อวัน)

30.00 35.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

25.00 35.00
3 เพื่อลดเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

ร้อยละของเด็กและเยาวชน อายุ 15-25 ปีในชุมชน ที่เสี่ยงต่อการใช้สารเสพติด

40.00 30.00
4 เพื่อเพิ่มจำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

จำนวนพื้นที่ปลอดภัย พื้นที่สร้างสรรค์ ที่เอื้อต่อการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติด

4.00 5.00
5 เพื่อส่งเสริมการใช้เวลาของเด็กและเยาวชนด้วยกิจกรรมพื้นที่สร้างสรรค์ลดปัจจัยเสี่ยง

เด็กและเยาวชนมีพื้นที่และใช้เวลาในการสร้างสรรค์กิจกรรมที่เป็นประโยชน์

20.00 30.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 30
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น : 03/08/2024

กำหนดเสร็จ : 28/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเตรียมความพร้อมและจัดหาวัสดุกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเตรียมความพร้อมและจัดหาวัสดุกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมเตรียมความพร้อม สำรวจข้อมูลกลุ่มเป้าหมาย จัดเตรียมวัสดุ/อุปรกณ์ ประกอบด้วย 1.ป้ายสำหรับกิจกรรม 1 ป้ายๆละ 1,000.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 สิงหาคม 2567 ถึง 9 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

แผนงาน รายชื่อกลุ่มเป้าหมาย วัสดุอุปกรณ์

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1000.00

กิจกรรมที่ 2 ห้องเรียนทักษะชีวิต

ชื่อกิจกรรม
ห้องเรียนทักษะชีวิต
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ วิเคราะห์ตัวตน พฤติกรรมเสี่ยงสุขภาพและปัจจัยแวดล้อมเสี่ยงสุขภาพ 1.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 30 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท 2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 30 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท 3.ค่าสมนาคุณวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600.- บาท 4.ค่าวัสดุ/อุปกรณ์เครื่องเขียน ประกอบด้วย
-กระดาษบรู๊ฟ 20 แผ่นๆละ 5 บาท100.- บาท - กระดาษ A4 1 รีมๆละ 150.- บาท - สมุด 30 เล่มๆละ 15 บาท 450.- บาท - ปากกา 30 ด้ามๆละ 5 บาท 150.- บาท - สีไม้ 30 บาทๆ จำนวน 5 กล่อง 150.- บาท - แฟ้มพลาสติก 30 แฟ้มๆละ 30 บาท 900.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 สิงหาคม 2567 ถึง 12 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.เด็กและเยาวชนได้รู้จักตัวตนมากยิ่งขึ้น 2.มีข้อมูลปัจจัยเสี่ยงสุขภาพ/ปัจจัยแวดล้อม 3.เด็กและเยาวชนตระหนักถึงการใช้เวลาและป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงยาเสพติด 4.มีข้อมูลวิเคราะห์กิจกรรม เสริมแรงหนุน ลดแรงต้านเพื่อสร้างพื้นที่ปลอดภัยให้เด็กและเยาวชน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9100.00

กิจกรรมที่ 3 ห้องเรียนสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
ห้องเรียนสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมอบรมส่งเสริมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ กิจกรรมการให้ความรู้การมีกิจกรรมทางกายเพียงพอ 1.ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อๆละ 30 คนๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท 2.ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 30 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 1,800.- บาท 3.ค่าตอบแทนวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
17 สิงหาคม 2567 ถึง 18 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กและเยาวชนเข้าใจมีความรู้และทักษ่ะพร้อมรองรับการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพด้วยหลัก 3 อ. และเห็นความสำคัญของการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
7200.00

กิจกรรมที่ 4 ห้องเรียนไม้เทียม

ชื่อกิจกรรม
ห้องเรียนไม้เทียม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาด้วยการประดิษฐ์่ปูนปั้นไม้เทียม เพื่อส่งเสริมการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอสัปดาห์ 180 นาทีไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 1 มื้อๆละ 15 คนๆละ 30 บาท จำนวน 3 ครั้ง  เป็นเงิน 1,350.- บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 สิงหาคม 2567 ถึง 7 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กและเยาวชนเกิดการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ลดปัจจยเสี่ยงสุขภาพ เด็กและเยาวชน มีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 180 นาที

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1350.00

กิจกรรมที่ 5 ห้องครัวชุมชน

ชื่อกิจกรรม
ห้องครัวชุมชน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

กิจกรรมส่งเสริมการใช้เวลาด้วยการทำอาหาร หรือแปรรูปอาหารเพื่อสุขภาพการทำขนม เพื่อลดปัจจยเสี่ยงสุขภาพ สัปดาห์ละ 180 นาที ไม่น้อยกว่า 3 ครั้ง ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม 1 มื้อๆละ 15 คนๆละ 30 บาท 3 ครั้ง เป็นเงิน

ระยะเวลาดำเนินงาน
24 สิงหาคม 2567 ถึง 7 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เด็กและเยาวชนเกิดการใช้เวลาให้เกิดประโยชน์ ลดปัจจยเสี่ยงสุขภาพ เด็กและเยาวชน มีกิจกรรมทางกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ 180 นาที

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
1350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

เด็กและเยาวชนลดปัจจัยเสี่ยงการยุ่งเกี่ยวกับยาเสพติด
เด็กและเยาวชนมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอ
ชุมชนมีพื้นที่ปลอดภัยสำหรับเด็กและเยาวชน


>