กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ท่าหมอไทร

นายอับมาลี หนีสะเก็ม

นายนัสรอน เสะหมะ

นายราเซน ร่าหนิ

นายนูรี ปานสัน

นายยูโส๊บ หมากปาน

บ้านวังหาร หมู่ที่ 10 ต.ท่าหมอไทร อ.จะนะ จ.สงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

 

40.00
2 ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

 

40.00
3 ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับประทานพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

 

40.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

40.00 80.00
2 เกษตรกรบ้านวังหาร ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

40.00 80.00
3 เกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับประทานพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

ร้อยละของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับประทานพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

40.00 80.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
ประชากรทั่วไป (กลุ่มตัวอย่าง) 40

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/08/2024

กำหนดเสร็จ 01/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรม อบรมให้ความรู้เรื่องวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้เกี่ยวกับผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย ประกอบด้วยรายละเอียด ดังนี้ - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าจ้างเหมาทำแผ่นป้ายไวนิลโครงการ จำนวน 1 ป้าย ขนาด 1*1.5 ม. เป็นเงิน 225 บาท

  • ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 80 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 1 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6425.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมทำแปลงสาธิตการเรียนรู้วิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทำแปลงสาธิตการเรียนรู้วิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

เกษตรกรบ้านวังหารเรียนรู้วิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัยตามวัตถุประสงค์ มีวัสดุอุปกรณ์ในการทำแปลงสาธิต รายละเอียดดังนี้ - เหล็กกล่องคาร์วาไนท์ ขนาด 1 นิ้ว x 1 นิ้วจำนวน 12 เส้น ๆ ละ 195 บาท เป็นเงิน 2,340 บาท

  • มุ้งกันแมลง ขนาดยาว 12 เมตรๆละ 85 บาท เป็นเงิน 1,020 บาท

  • ดินปลูก จำนวน 20 ถุงๆละ 30 บาท เป็นเงิน 600 บาท

  • แกลบเผา จำนวน 12 กระสอบๆละ 70 บาท เป็นเงิน 840 บาท

  • มูลสัตว์จำนวน 15 กระสอบๆละ 50 บาท เป็นเงิน 750 บาท

  • ขุยมะพร้าวจำนวน 12 กระสอบๆ ละ 70 บาท เป็นเงิน 840 บาท

  • เมล็ดพันธ์ุผักกาดกวางตุง จำนวน 4 ซองๆละ 30 บาท เป็นเงิน 120 บาท

  • เมล็ดพันธ์ุผักกาดขาวจำนวน 4 ซองๆละ 30 บาท เป็นเงิน 120 บาท

  • เมล็ดพันธ์ุผักคะน้าจำนวน 4 ซองๆละ 30 บาท เป็นเงิน 120 บาท

  • เมล็ดพันธ์ุผักบุ้งแก้ว จำนวน 1 กิโลกรัม 180 บาท

  • ถาดเพาะเมล็ด จำนวน 10 ถาด ราคา 26 บาท เป็นเงิน 260 บาท

  • แม่ปุ๋ย A B ขนาด 40 ลิตร จำนวน 1 ชุด ราคา 1,200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 สิงหาคม 2567 ถึง 2 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
8390.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมให้ความรู้และตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก เพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้และตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก เพื่อการบริโภคที่ปลอดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

อบรมให้ความรู้และตรวจหาสารเคมีตกค้างในผัก โดยการนำผักปลอดสารพิษจากแปลงสาธิตและผักที่ซื้อจากท้องตลาดเป็นผักชนิดเดียวกันมาตรวจหาสารเคมีตกค้างว่ามีความเหทือนหรือแตกต่างกันอย่างไร รายละเอียด - ค่าวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท

  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 40 คน 1 มื้อ ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท

  • ค่าอาหารกลางวัน 40 คนๆละ 80 บาท เป็นเงิน 3,200 บาท

  • ค่าจัดซื้อชุดทดสอบหาสารพิษตกค้างหรือยาฆ่าแมลง จำนวน 2 ชุด ราคาชุดละ 2,000 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
2 กันยายน 2567 ถึง 2 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับประทานพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10200.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 25,015.00 บาท

หมายเหตุ :
ค่าใช้จ่ายทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับความรู้ความเข้าใจในวิธีการปลูกผักยกแคร่ปลอดสารพิษ เพื่อการบริโภคปลอดภัย

2. ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ผู้ปลูกผักมีสุขภาพอนามัยดีขึ้น เนื่องจากไม่มีการฉีดพ่นสารเคมีป้องกันและกำจัดศัตรูพืช ทำให้เกษตรกรปลอดภัยจากสารพิษ

3. ร้อยละ 80 ของเกษตรกรบ้านวังหาร ได้รับประทานพืชผักที่มีคุณภาพ ไม่มีสารพิษตกค้าง เกิดความปลอดภัยแก่ผู้บริโภค


>