กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ก่อเอ้

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการบูรณาการน่าอยู่ เพื่่อรองรับสังคมสูงวัย

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ก่อเอ้

นางนงคราญ เทพมุสิก
นายพงษ์ธรณ์ ศิริปรุ
นางสาวศุภกานต์รัตนจารุวัฒน์
นางสาวกาญจนามิ่งเมือง
นางสาวณฐวรสะอาดศรี

องค์การบริหารส่วนตำบลก่อเอ้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกิจกรรมทางกาย , แผนงานผู้สูงอายุ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

67.02
2 ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

 

70.00
3 ร้อยละสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้ใหญ่

ร้อยละของผู้ใหญ่อายุ 18-64 ปี ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลางถึงมาก อย่างน้อยที่สุด 150 นาทีต่อสัปดาห์)

67.02 75.00
2 เพื่อเพิ่มการมีกิจกรรมทางกายที่เพียงพอในผู้สูงอายุ

ร้อยละของผู้สูงอายุ 65 ปี ขึ้นไป ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (ระดับปานกลาง อย่างน้อย 150 นาทีต่อสัปดาห์)

70.00 80.00
3 เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ

จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

80.00 90.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 40
กลุ่มผู้สูงอายุ 20
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 12/07/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และวัด เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และวัด เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และวัด เพื่อชี้แจงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 15 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

เพื่อให้ผู้นำชุมชน ผู้นำกลุ่มผู้สูงอายุ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และวัด เข้าใจถึงแนวทางการดำเนินงานตามโครงการฯ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 การพัฒนศักยภาพผู้สูงอายุ วัยเด็ก วัยทำงาน ในการใช้ลานกิจกรรม 3 วัยใส่ใจสุขภาพ

ชื่อกิจกรรม
การพัฒนศักยภาพผู้สูงอายุ วัยเด็ก วัยทำงาน ในการใช้ลานกิจกรรม 3 วัยใส่ใจสุขภาพ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

การพัฒนศักยภาพผู้สูงอายุในการใช้ลานกิจกรรม 3 วัยใส่ใจสุขภาพ 1. ชี้แจงอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพ 2. นัดหมายการใช้พื้นที่สาธารณะร่วมกัน สัปดาห์ละ 1 ครั้งจัดกิจกรรมทุกวันศุกร์ มาระดมออกแรงสร้างพื้นที่สาธารณะร่วมกัน เกิดการมีส่วนร่วมและมีความรู้สึกเป็นเจ้าของดูแลพื้นที่ร่วมกัน

  • ทางเดินนวดเท้าผู้สูงอายุ พื้นที่นวดเท้าผ่อนคลาย
  • ลานศิลปะและของเล่นเด็ก
  • ลานปั่นจักรยาน
  • ซ้อมฟ้อนรำ
  1. การฝึกทำอุปกรณ์กิจกรรมทางกาย อุปกรณ์พื้นบ้าน กะลามะพร้าว ขาโถกเถก กะบะทราย ล้อยางรถ เชือก

งบประมาณ
ครั้งที่ 1 - อาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 60 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 35 บาท เท่ากับ 4,200 บาท
- อาหารกลางวัน จำนวน 60 คน x 60 บาท เท่ากับ 3,600 บาท - ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมง x 3 คน x 600 บาท รวมเป็น 3,600 บาท (ครูภูมิปัญญา)
รวมเป็นเงิน11,400 บาท

ครั้งที่ 2 - อาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 60 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 35 บาท เท่ากับ 2,100 บาท
- ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมง x 1 คน x 600 บาท รวมเป็น 1,200 บาท (ครูศิลปะ)
รวมเป็นเงิน 3,300 บาท

ครั้งที่ 3
- อาหารว่างและเครื่องดื่มจำนวน 60 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 35 บาท เท่ากับ 2,100 บาท
- ค่าวิทยากร 2 ชั่วโมง x 1 คน x 600 บาท รวมเป็น 1,200 บาท (แพทย์แผนไทย)
รวมเป็นเงิน 3,300 บาท

  • ค่าวัสดุประกอบการสาธิตกิจกรรม 3 ครั้งเช่น ป้ายโครงการ ป้ายความรู้ เชือก ไม้ไผ่ ล้อยางรถยนต์ สี ทราย หินกรวดนวดเท้า ฯลฯ เป็นเงิน 17,000 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 15 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีสถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
35000.00

กิจกรรมที่ 3 สรุป และติดตามประเมินผล

ชื่อกิจกรรม
สรุป และติดตามประเมินผล
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ประชุมหาแนวทางให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
  • การสรุปบทเรียน และติดตามประเมินผล
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 สิงหาคม 2567 ถึง 15 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ได้ผลสรุปบทเรียน และติดตามประเมินผล

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 35,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
2. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ


>