2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัจจุบันขยะนับว่าเป็นปัญหาสำคัญทั้งในระดับโรงเรียน ชุมชนและระดับประเทศ ขยะชุมชน
นับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้นพร้อมๆ กับการขยายตัวของเมืองและประชากร ประกอบกับการขาดจิตสำนึกในการทิ้งขยะมูลฝอย เพื่อส่งเสริม สนับสนุนการสร้างเครือข่ายสถานศึกษา ที่ดำเนินกิจกรรม ลด คัดแยก และนำขยะกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ในสถานศึกษา สร้างระบบการเรียนรู้และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของผู้เรียนในการจัดการขยะภายในสถานศึกษา เพื่อมุ่งสู่สถานศึกษาปลอดขยะอย่างแท้จริง
ทั้งนี้ เพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมที่ดี ปลอดขยะ และไม่เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์พาหะนำโรค ใน
โรงเรียนและชุมชนที่นักเรียนอาศัยอยู่ รวมทั้งก่อให้เกิดพฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง ในการหันมาลดปริมาณขยะ แยกประเภทของขยะ ( ขยะทั่วไป, ขยะรีไซเคิล ) นำขยะที่เกิดขึ้นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดจึงได้จัดทำ
โครงการธนาคารขยะในสถานศึกษาสังกัดเทศบาลเมืองพัทลุง ทั้งหมด 5 โรงเรียน ได้แก่ โรงเรียนเทศบาล
บ้านคูหาสวรรค์, โรงเรียนเทศบาลวัดภูผาภิมุข, โรงเรียนเทศบาลวัดนิโครธาราม, โรงเรียนเทศบาลจุ่งฮั่วและโรงเรียนเทศบาลวัดนางลาด
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 15/07/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2024
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. นักเรียนโรงเรียนมีความรู้ในการจัดการขยะและการรักษาสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
2. ลดปริมาณขยะและเสริมสร้างความรู้ในเรื่องการคัดแยกขยะที่ถูกต้องเหมาะสม
3. มีรูปแบบการจัดการขยะโดยการมีส่วนร่วมของครู นักเรียน บุคลากรทุกคนในการดำเนินงาน
4. ลดการเกิดโรคจากขยะในโรงเรียนได้