2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาขยะอันตรายนับได้ว่าเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดในด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการ ก่อให้เกิดมลพิษส่งผลกระทบต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อมทั้งทางตรงและทางอ้อม ซึ่งนับวันจะทวีความรุนแรงยิ่งขึ้นเนื่องจากการเพิ่มของจำนวนประชากร การเจริญเติบโตและพัฒนาทางเศรษฐกิจสังคม และเทคโนโลยี ตลอดจนพฤติกรรมการอุปโภคและการบริโภคที่เปลี่ยนแปลงไป สิ่งเหล่านี้ส่งผลให้ขยะชุมชนมีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มขึ้นของขยะอันตรายชุมชน อาทิเช่น ถ่านไฟฉาย หลอดไฟ ภาชนะบรรจุน้ำยาทำความสะอาด กระป๋องสี และยาฆ่แมลง แบตเตอรี่ เป็นต้น ปัจจุบันขยะอันตรายจากชุมชนที่เกิดขึ้นยังขาดระบบการคัดแยกออกจากขยะมูลฝอยรวม และการจัดการขยะอันตรายที่ดีแนวทางแรกที่มีความจำเป็นที่สุด จะต้องดำเนินการคัดแยกเพื่อลดปริมาณขยะอันตรายในชุมชน กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม องค์การบริหารส่วนตำบลสุไหงปาดี ได้เห็นความสำคัญปัญหาขยะอันตราย จึงได้ดำเนินการจัดโครงการฯ เพื่อให้ประชาชนในเขตตำบลสุไหงปาดี มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับขยะอันตราย และให้แต่ละหมู่บ้านมีจุดรวบรวมขยะอันตราย เพื่อนำส่งไปกำจัดอย่างถูกหลักวิชาการ ต่อไป
ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 13/06/2024
กำหนดเสร็จ 25/09/2024
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ร้อยละ 60 ประชาชนในตำบลสุไหงปาดี มีความรู้ความ เข้าใจในการคัดแยกขยะอันตราย
2.ร้อยละ 60 ประชาชนในตำบลสุไหงปาดี มีการสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมในกิจกรรมรณรงค์คัดแยกขยะอันตายออกจากขยะทั่วไป
3.จำนวนหมู่บ้าน ในตำบลสุไหงปาดี มีจุดรวบรวมขยะอันตราย หมู่ละ 1 แห่งเพื่อรวบรวมนำส่งกำจัดอย่างถูกหลักวิชาการ