กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการอบรมการเฝ้าระวังให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปะลุรู

อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.หมู่.6 บ้านตาเซะใต้)
1. นางสาวซารีป๊ะ ดอหะ
2. นางเจ๊ะรอมายะ มะรอเสะ
3. นางยูใบด๊ะ มามะ
4. นางสาวเจ๊ะเย๊าะ ยะโก๊ะ
5. นายมูฮำหมัดอัรซัด มือลี

มัสยิดบ้านตาเซะใต้

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดในสตรีไทย ปัจจุบันสถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นในโรคมะเร็งเต้านม เสียชีวิต 17.2 ต่อประชากร 100,000 คน

โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม เป็นโรคมะเร็งที่พบมากเป็นอันดับ 1 และ 2 ของโรคมะเร็งทั้งหมดในสตรีไทย ปัจจุบันสถิติการเสียชีวิตด้วยโรคมะเร็งเต้านม และโรคมะเร็งปากมดลูกในสตรีไทยมีปริมาณเพิ่มขึ้นในโรคมะเร็งเต้านม เสียชีวิต 17.2 ต่อประชากร 100,000 คน ในโรคมะเร็งปากมดลูกเสียชีวิต 19.5 ต่อประชากร 100,000 คน ปัญหาดังกล่าวก่อให้เกิดความสูญเสียทั้งด้านร่างกาย จิตใจ และทางด้านเศรษฐกิจ เป็นอย่างมาก แต่จะสามารถป้องกันและรักษาให้หายขาดได้ ถ้าพบผู้ป่วยโรคมะเร็งในระยะเริ่มแรก ดังนั้นถ้าสามารถกระตุ้นให้ประชาชนกลุ่มเป้าหมายได้มีความรู้และเข้าใจ เกี่ยวกับโรคดังกล่าว พร้อมทั้งตระหนักและเห็นถึงความสำคัญ ของการตรวจค้นหาโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรกก็จะทำให้อัตราการเกิดโรค อัตราการป่วย และอัตราการตายจากโรคมะเร็งเต้านมและโรคมะเร็งปากมดลูกลดลง ดังนั้น อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม หมู่.6 บ้านตาเซะใต้ ) จึงเล็งเห็นความสำคัญดังกล่าวว่า การจัดอบรมให้ความรู้แก่กลุ่มสตรีหรือกลุ่มที่มีอายุ 30 - 60 ปี และอสมจะส่งผลให้ สตรีหรือกลุ่มที่มีอายุ 30 - 60 ปี เกิดความเชี่ยวชาญในการตรวจโรคมะเร็งเต้านม และการเฝ้าระวังการเกิดโรคขั้นต้นได้ สตรีหรือกลุ่มที่มีอายุ 30 - 60 ปี ก็สามารถทำให้ค้นพบและสามารถรับรู้ระยะเริ่มต้นของอาการป่วยได้ทันและมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้นจึงได้จัดโครงการนี้ขึ้นดังรายละเอียดต่อไปนี้

0.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและสตรีหรือกลุ่มอายุ 30 – 60ปี จำนวน 40 คน มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2) เพื่อให้สตรีหรือกลุ่มอายุ 30 – 60ปี จำนวน 40คน สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง 3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก

1) สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80 2) สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80 3) สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80

0.00
2 1) เพื่อให้อาสาสมัครสาธารณสุขและสตรีหรือกลุ่มอายุ 30 – 60ปี จำนวน 40 คน มีความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม 2) เพื่อให้สตรีหรือกลุ่มอายุ 30 – 60ปี จำนวน 40คน สามารถตรวจเต้านมได้ด้วยตนเอง 3) เพื่อค้นหาผู้ป่วยโรคมะเร็งปากมดลูกในระยะเริ่มแรก

1) สตรีกลุ่มเป้าหมายได้รับการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80  2) สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้เกี่ยวกับการป้องกันโรคมะเร็งปากมดลูกร้อยละ 80 3) สตรีกลุ่มเป้าหมายมีความรู้และมีทักษะในการตรวจเต้านมด้วยตนเองร้อยละ 80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/01/2024

กำหนดเสร็จ 30/08/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมการเฝ้าระวังให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง

ชื่อกิจกรรม
อบรมการเฝ้าระวังให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านม และฝึกทักษะการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

จัดอบรมให้ความรู้ด้านการเฝ้าระวังให้ความรู้โรคมะเร็งปากมดลูกและโรคมะเร็งเต้านมให้แก่สตรีหรือกลุ่มอายุ 30 – 60ปี
1.ค่าอาหาร 1 มื้อๆละ 60 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 2,400 บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 2 มื้อๆละ 30 บาท จำนวน 40 คน เป็นเงิน 2,400 บาท 3.ค่าวิทยากร 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท 4.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.2 x 2.4 ม. เป็นเงิน 720 บาท 5.ค่ากระเป๋าใบละ 50 บาท จำนวน 40 ใบ เป็นเงิน 2,000 บาท 6.ค่าสมุดเล่มละ 10 บาท จำนวน 40 เล่ม
เป็นเงิน 400 บาท 7.ค่าปากกาแท่งละ 5 บาท จำนวน 40 แท่ง เป็นเงิน 200 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 มกราคม 2567 ถึง 30 สิงหาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
11720.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 11,720.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>