กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการเปิดพื้นที่สร้างสรรค์พัฒนาเยาวชนรุ่นใหม่ใส่ใจสุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.โละจูด

สภาเด็กและเยาวชน อบต.โละจูด

นางสาวซีตีนูรอาซูรามีสู
นายฮากิมวาเตะ
นางสาวนูรอาดาวียะห์หวังทอง

ในพื้นที่อบต.โละจูด

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเด็ก เยาวชน ครอบครัว

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อสร้างผู้นำเยาวชนในการต่อต้านและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติดอโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และการตั้งครรภ์ก่อนวัยอันควรในสถานศึกษาและชุมชน

เยาวชนสามารถดูแลตัวเองและป้องกันการแพร่ระบาดของยาเสพติด โรคทางเพศสัมพันธ์ และการตั้งตรรภ์ในวันเรียนในสถานศึกษา และชุมชนได้

2.00 2.00
2 เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต ทักษะทางความคิด สร้างภูมิคุ้มกันทางด้านร่างกายและจิตใจให้กับเยาวชนไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข ทำให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดและโรคทางเพศสัมพันธ์

เยาวชนจะไม่ตกเป็นทาสของอบายมุข ทำให้เยาวชนห่างไกลยาเสพติดและโรคทางเพศสัมพันธ์

2.00 2.00
3 เพื่อเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็งมั่นคง สามารถต่อสู้กับปัญหาสุขภาพและการแพร่ระบาดของยาเสพติดและโรคทางเพศสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ชุมชนให้เข้มแข็งมั่นคง  สามารถต่อสู้กับปัญหาสุขภาพและการแพร่ระบาดของยาเสพติดและโรคทางเพศสัมพันธ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2.00 2.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 60
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 13/08/2024

กำหนดเสร็จ 11/09/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ๑. กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้ ทำความรู้จักตัวตน (รู้หน้าไม่รู้ใจ)

ชื่อกิจกรรม
๑. กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้ ทำความรู้จักตัวตน (รู้หน้าไม่รู้ใจ)
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร 1 ท่าน จำนวน 6 ชม.x 600 บาท = 3,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน x 80 บาท = 4,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ = 3,600 บาท
  • ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1.5 x 2.00 = 750 บาท
  • ค่าวัสดุ เครื่องเขียน และอุปกรณ์ = 5,250 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 สิงหาคม 2567 ถึง 11 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมความรู้และรู้จักตัวเองมากขึ้น

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
18000.00

กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้ รักสามรส

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมทางวิชาการ อบรมให้ความรู้ รักสามรส
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  • ค่าวิทยากร 1 ท่าน จำนวน 6 ชม.x 600 บาท = 3,600 บาท
  • ค่าอาหารกลางวันและเครื่องดื่ม ผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 60 คน x 80 บาท = 4,800 บาท
  • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 60 คน x 30 บาท x 2 มื้อ = 3,600 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
13 สิงหาคม 2567 ถึง 11 กันยายน 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้เข้าร่วมอบรมได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันตัวเองจากการเอาตัวรอด

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
12000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 30,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เด็กและเยาวชนทำความดีไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งเสพติด
2. เด็กและเยาวชนมีความรู้เกี่ยวกับการส่งเสริมสุขภาพการป้องกันโรค และสามารถนำความรู้ไปปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
3. เด็กและเยาวชนมีความรู้เรื่องอาหารดีมีประโยชน์


>