กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สมเด็จ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการรู้ทันโรคติดต่อตามฤดูกาล

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.สมเด็จ

สำนักปลัด องค์การบริหารส่วนตำบลสมเด็จ

ชุมชนในพื้นที่ อบต.สมเด็จ จำนวน 12 หมู่บ้าน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานปัญหาสุขภาพอุบัติใหม่

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

 

94.03
2 ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพ

 

0.20

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเพิ่มจำนวนคนในชุมชนที่สามารถปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้

ร้อยละของคนในชุมชนที่มีความรู้ สามารถปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคติดต่ออุบัติใหม่ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม

94.03 96.00
2 เพื่อเพิ่มหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคม เพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่

ร้อยละของหมู่บ้านหรือชุมชนที่มีและใช้มาตรการทางสังคมเพื่อการเฝ้าระวังและจัดการโรคอุบัติใหม่ เช่น ข้อตกลง/ธรรมนูญ/มาตรการชุมชน เพื่อป้องกัน แก้ปัญหา และฟื้นฟูโรคติดต่ออุบัติใหม่ (เช่น มาตรการเกี่ยวกับตลาด การทำกิจกรรมทางศาสนา การสวมหน้ากากอนามัย การจัดงานพิธีต่าง ๆ มาตรการที่กักกันในชุมชน (Local Quarantine – LQ) มาตรการแยกกักในชุมชน (Home Isolation – HI) เป็นต้น

0.20 20.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 60
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/05/2024

กำหนดเสร็จ 31/05/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะอนุกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะอนุกรรมการและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อวางแผนการจัดกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชุมหารือทบทวนข้อมูลสถานการณ์โรคระบาดต่างๆ ที่เกิดขึ้น และถ่ายทอดนโยบายให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทราบ 2.ออกแบบกิจกรรมและคัดเลือกกลุ่มเป้าหมายเพื่อเข้าร่วมกิจกรรม

ระยะเวลาดำเนินงาน
8 พฤษภาคม 2567 ถึง 8 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ได้แนวทางในการจัดโครงการ/กิจกรรม เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคอุบัติใหม่ที่เกิดขึ้นในชุมชน 2.ได้กลุ่มเป้าหมายเพื่อพัฒนาเป็นกลไกเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ โรคที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงฤดูกาล ในระดับชุมชนที่ทำงานร่วมกันกับ อปท.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
0.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการ "โครงการรู้ทันโรคติดต่อ ตามฤดูกาล"

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการ "โครงการรู้ทันโรคติดต่อ ตามฤดูกาล"
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.อบรมให้ความรู้กับผู้นำชุมชน, อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน (อสม.) และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเกี่ยวกับโรคระบาดที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล ความเสี่ยงและการเฝ้าระวัง 2.จัดทำสื่อรณรงค์ประชาสัมพันธ์ เพื่อให้ความรู้กับประชาชนในการเฝ้าระวังโรคระบาดที่เกิดขึ้น 3.พัฒนากลไกเฝ้าระวังโรคระบาดที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล โรคอุบัติใหม่ ที่มีความเสี่ยงต่อสุขภาพ

ระยะเวลาดำเนินงาน
10 พฤษภาคม 2567 ถึง 10 พฤษภาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.ผู้นำชุมชน, กรรมการหมู่บ้าน, อาสาสมัครสาธารณสุขหมู่บ้าน(อสม.), ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ได้รับความรู้เกี่ยวกับโรคระบาดที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล ความเสี่ยงและการเฝ้าระวังเพื่อป้องกันโรคที่เกิดขึ้น 2.เกิดกลไกการเฝ้าระวังโรคอุบัติใหม่ โรคที่เกิดขึ้นตามฤดูกาล ที่ครอบคลุมทั้ง 12 หมู่บ้าน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
50000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?


>