กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาทะลุ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการสานพลังครอบครัว ลด ละ เลิกบุหรี่สู่ชุมชนน่าอยู่

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.เขาทะลุ

ชมรม อสม. ตำบลเขาทะลุ

นายศุภมิตร รุ่งเจริญ

เขตตำบลเขาทะลุ อำเภอสวี จังหวัดชุมพร

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานยาสูบ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

 

10.00
2 ร้อยละ ของการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชน

 

25.00
3 จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน(คน)

 

5.00
4 ร้อยละของการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของประชาชนในชุมชน

 

10.00
5 ร้อยละของการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ ของประชาชนในชุมชน

 

10.00
6 จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย (ร้าน)

 

80.00

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน

อัตราการสูบบุหรี่ของเด็กและเยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

10.00 5.00
2 เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ในชุมชน

อัตราการสูบบุหรี่ของผู้ใหญ่ที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปีขึ้นไปในชุมชนลดลงเหลือ(ร้อยละ)

25.00 20.00
3 เพื่อลดจำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปีในชุมชน

จำนวนผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในกลุ่มเด็ก-เยาวชนที่มีอายุไม่เกิน 25 ปี ในชุมชนลดลงเหลือ (คน)

5.00 0.00
4 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะ ของประชาชนในชุมชน

การได้รับควันบุหรี่มือสองในสถานที่สาธารณะลดลงเหลือ(ร้อยละ)

10.00 0.00
5 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของประชาชนในชุมชน

อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)

10.00 0.00
6 เพื่อลดอัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของประชาชนในชุมชน

อัตราการได้รับควันบุหรี่มือสองที่บ้านของตนเองลดลงเหลือ(ร้อยละ)

10.00 0.00
7 เพื่อเพิ่มจำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมาย

จำนวนร้านค้าที่ขายผลิตภัณฑ์ยาสูบในชุมชนที่ปฏิบัติตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็น(ร้าน)

80.00 100.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน 100
กลุ่มวัยทำงาน 300
กลุ่มผู้สูงอายุ 60
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/03/2018

กำหนดเสร็จ 30/09/2018

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 สำรวจกลุ่มเสี่ยง

ชื่อกิจกรรม
สำรวจกลุ่มเสี่ยง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. สำรวจข้อมูลผู้สูบบุหรี่ก่อนและหลังดำเนินการ
  2. รณรงค์ในที่สาธารณะ วัด โรงเรียน สถานที่ราชการ ปลอดบุหรี่ ติดป้ายปลอดบุหรี่สถานที่สาธารณะ
  3. คัดเลือกและแต่งตั้งบุคคลต้นแบบที่ไม่สูบบุหรี่ในชุมชนให้บุคคลต้นแบบ
  4. แต่งตั้งคณะกรรมการในท้องถิ่นเพื่อออกกฎกติกา ลด ละ เลิกบุหรี่
  5. อสม.ออกดำเนินการชักชวนผู้สูบบุหรี่ให้เลิกสูบบุหรี่ อสม.1 คน ต่อผู้สูบบุหรี่ 3 คน
  6. ประชาสัมพันธ์ชักชวนประชาชนให้เลิกสูบบุหรี่ในงานกิจกรรมต่างๆในชุมชน
  7. จัดตั้งคลีนิคเลิกบุหรี่ในรพสต./ส่งต่อรพ.สวี
ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)
  1. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของเด็กและเยาวชนในชุมชน เหลือไม่เกินร้อยละ 5
  2. เพื่อลดอัตราการสูบยาสูบของผู้ใหญ่ในชุมชน เหลือไม่เกินร้อยละ 20
  3. เพื่อเกิดมาตรการกลไกทางสังคม ในการสร้างเครือข่ายผู้ ลด ละ เลิกบุหรี่
  4. เพื่อไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในทุกกลุ่มอายุ
  5. สถานที่สาธารณะ วัด โรงเรียน สถานที่ราชการทุกทีเป็นสถานที่ปลอดบุหรี่
  6. บุคคลต้นแบบอย่างน้อยหมู่บ้านละ 2 คน ได้รับเกียรติบัตรเชิดชูเกียรติ
  7. รพสต.จัดตั้งคลีนิคเลิกบุหรี่/จัดมุมปอดโปร่ง
จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
50000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 50,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. เพื่อให้ครอบครัว มีความรู้ ความเข้าใจ ตระหนักถึงโทษ พิษภัยผลกระทบของบุหรี่
2. เพื่อค้นหาครอบครัวต้นแบบ เลิกบุหรี่และครอบครัวที่ไม่สูบบุหรี่
3. เพื่อเกิดมาตรการกลไกทางสังคม ในการสร้างเครือข่ายผู้ ลด ละ เลิกบุหรี่
4. เพื่อไม่ให้มีผู้สูบบุหรี่รายใหม่ในทุกกลุ่มอายุ


>