กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุขปี 2561

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลเมืองปัตตานี

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการที่รัฐบาลได้มีกำหนดนโยบายการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานความปลอดภัในการทำงานและบริการชีวะอนามัยในสถานประกอบการตลอดจนการดำเนินการพัฒนาในการทำงานและบริการชีวอนามัยสิ่งแมวล้อมแลสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยงข้องดังนั้นจึงต้องมีารปรับปรุงแก้ไข พัฒนา ยกระดับมาตรฐานในด้านความปลอดถัยในการทำงานและการบริการชีวอนามัยในสถานประกอบการสำหรับสถานที่ต่างๆ เช่น สถานที่ราชการ สถานที่ประกอบการเอกชน ตลาด รานอาหาร โรงเรียนเพื่อให้สถานที่ได้รับการพัฒนาให้มีมาตรฐานที่กำหนดมีความปลอดภัยจากการใช้บริการด้านความปลอดภัยในการทำงานและการบริการชีวอนามัยในสถานประกอบการเพิ่มขึ้น
จากสถิติพบว่าประชากรวัยทำงานหรือผู้ใช้แรงงานเป็นโรคจากความเสียงในการทำงานซึงไม่เคยได้รับการตรวจสุขภาพกับเลย นอกจากมูลค่าความเสียหายที่เกิดจากการหยุดงาน ยังสูญเสียโอกาศของคนทำงาน และสูญเสียมูลค่าทางเศรษฐกิจที่เสียไปกับการรักษาอาการเจ็บป่วยไม่ว่าจะเจ็บป่วยจากการทำงาน แล้วยังสูญเสียโอกาสของคนทำงานคนนั้น
ดังนั้นจึงเห็นว่าประชากรวัยทำงานหรือผู้แรงงานจึงถือเ็นเรื่องสำคัญเท่ากับหรืออาจจะมากว่าเครื่องจักรต้งดำเนินชีวิตอย่างเร่งรีบเนื่องจากมีการแข่งขันสูง และค่าครองชีพสูงประกอบกับความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ความสะดวกสบาย อาจเป็นสาเหตุหนึงที่ทำให้พฤติกรรมด้านสุขภาพเปลี่ยนแปลงส่งผลให้ประชากรวัยทำงานมีปัญหาด้านสุขภาพเพิ่มขึ้น

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงาน

ร้อยละของผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น 80

0.00
2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับงานอาชีวอนามัยในสถานที่ทำงาน

 

0.00
3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้เกี่ยวกับโรคที่เกิดจากสถานที่ทำงาน

 

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 20/02/2016

กำหนดเสร็จ 20/03/2017

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการทำงานและชีวอนามัยสิ่งแวดล้อม

ชื่อกิจกรรม
จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการทำงานและชีวอนามัยสิ่งแวดล้อม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.จัดประชุมและอบรมให้ความรู้เรื่องโรคจากการทำงานและชีวอนามัยสิ่งแวดล้อม 2.ประเมินความรู้ก่อน/หลังการอบรม 3.สรุปและประเมินผลการดำเนินโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
ถึง
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละของผู้เข้าอบรมมีความรู้เพิ่มขึ้น 80/ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกียวกับโรคที่เกิดจากการทำงานและงานชีวอนามัยในสถานที่ทำงาน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
110150.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 110,150.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกียวกับโรคที่เกิดจากการทำงาน
2.ผู้เข้าอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกียวกับงานชีวอนามัยในสถานที่ทำงาน
3.ความเสี่ยงที่ทำให้เกิดโรคจากการทำงานลดลง


>