กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการครัวเรือนต้นแบบ 1 ครัวเรือน 1 แปลงผัก รักษ์สุขภาพ

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลนาทวีนอก

กลุ่มคนรักสุขภาพบ้านซองเหนือ

1. นางฟารีดา สันหมาด0887903214
2. นางอนุรดี อะหวัง0888293240
3. นางขอดีเย๊าะ ติ้งหวัง0630656337
4. นางเสาเด๊าะ ขมิโดย
5. นายสงบ อินทร์นอก

บ้านซองเหนือ หมู่ 9 ตำบลนาทวี อำเภอนาทวี จังหวัดสงขลา

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานอาหารและโภชนาการ

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

จากการสำรวจชาวบ้านซองเหนือมักรับประทานอาหารที่มีโภชนาการน้อย ชอบดื่มน้ำอัดลม ขนมกรุบกรอบ ชอบทานของหวานๆ ชอบทานอาหารสำเร็จรูปและซื้อผักมาจากตลาดเพื่อนำมาทำเป็นอาหาร มากถึงร้อยละ 70 ดังนั้นการปลูกผักปลอดสารพิษหรือการปลูกผักริมรั้วไว้กินเองภายในบ้าน ถือเป็นการสร้างเสริมสุขภาพในระดับสถาบันครอบครัวที่มีความสำคัญมาก จึงจำเป็นต้องรณรงค์ส่งเสริมพฤติกรรมการสร้างเสริมสุขภาพของชาวบ้านให้ยั่งยืนจนเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต ซึ่งสอดคล้องกับนโยบายของท่านผู้ว่าราชการจังหวัดสงขลาคนปัจจุบัน “บ้านนี้มีรัก ปลูกผักกินเอง” เพื่อเป็นการปลูกฝังจิตสำนึกให้กับชาวบ้านซองเหนือในการสร้างความมั่นคงทางอาหารต่อไป กลุ่มคนรักสุขภาพบ้านซองเหนือ จึงจัดโครงการครัวเรือนต้นแบบ 1 ครัวเรือน 1 แปลงผัก มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาครัวเรือนต้นแบบให้มีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการ สามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยในครัวเรือน และเพื่อเพิ่มครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อพัฒนาครัวเรือนต้นแบบให้มีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการ และสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยในครัวเรือน

ครัวเรือนต้นแบบมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการ และสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยในครัวเรือน

0.00
2 เพื่อเพิ่มครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน

มีครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือนเพิ่มขึ้น

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 10
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 31/12/2024

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 1 จัดตั้งคณะทำงานและกำหนดแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
3 ตุลาคม 2567 ถึง 3 ตุลาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

1.มีคณะทำงาน 2.มีแผนและแนวทางในการจัดกิจกรรม

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
350.00

กิจกรรมที่ 2 อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
อบรมเชิงปฏิบัติการให้ความรู้แก่ครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 3 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท 2.ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 350 บาท
3.ค่าไวนิลโครงการ ขนาด 1.2 ม. x 2.4 ม. เป็นเงิน 430 บาท   รวมเป็นเงิน 2,580 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
22 ตุลาคม 2567 ถึง 22 ตุลาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ครัวเรือนต้นแบบมีความรู้ด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
2580.00

กิจกรรมที่ 3 ปลูกผัก 1 ครัวเรือน 1 แปลงผัก

ชื่อกิจกรรม
ปลูกผัก 1 ครัวเรือน 1 แปลงผัก
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าพันธุ์ผัก จำนวน 10 ซองๆละ 25 บาท เป็นเงิน 250 บาท 2.ค่าจอบพร้อมด้าม จำนวน 5 ด้ามๆละ 280 บาท เป็นเงิน 1,400 บาท 3.ค่าบัวรดน้ำขนาด 10 ลิตร จำนวน 10 อันๆละ 85 บาท เป็นเงิน 850 บาท 4.ค่าถุงปลูกขนาด 10 X 20 นิ้ว 1 ชุดมี 80 ใบ ราคา 1,150 บาท จำนวน 4 ชุด เป็นเงิน 4,600 บาท 5.หน้าดินในการปลูกผัก จำนวน 5 ลบ.ม.ๆละ 400 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท
6.ค่าปุ๋ยคอก 20 กระสอบๆละ 60 บาท เป็นเงิน 1,200 บาท   รวมเป็นเงิน 10,300 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ครัวเรือนต้นแบบมีแปลงผักอย่างน้อย 1 แปลงผักต่อครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
10300.00

กิจกรรมที่ 4 มอบป้ายครัวเรือนต้นแบบ

ชื่อกิจกรรม
มอบป้ายครัวเรือนต้นแบบ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าป้ายไวนิลครัวเรือนต้นแบบ ขนาด 0.5 ม. x 1 ม. x 150 บาท จำนวน 10 แผ่นๆละ 75 บาท รวมเป็นเงิน 750 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
25 ธันวาคม 2567 ถึง 25 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

มีครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือน 10 ครัวเรือน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
750.00

กิจกรรมที่ 5 ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 เพื่อประเมินและสรุปผลการดำเนินโครงการ

ชื่อกิจกรรม
ประชุมคณะทำงาน ครั้งที่ 2 เพื่อประเมินและสรุปผลการดำเนินโครงการ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ค่าใช้จ่าย 1.ค่าอาหารว่าง จำนวน 1 มื้อๆละ 35 บาท จำนวน 10 คน เป็นเงิน 350 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
31 ธันวาคม 2567 ถึง 31 ธันวาคม 2567
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประเมินและสรุปผลการดำเนินโครงการ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 14,330.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1.ครัวเรือนต้นแบบมีความรู้ ความเข้าใจด้านโภชนาการ และสามารถเข้าถึงอาหารที่ปลอดภัยในครัวเรือน
2.มีครัวเรือนต้นแบบด้านการผลิตและบริโภคอาหารปลอดภัยในครัวเรือนเพิ่มขึ้น


>