กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง รหัส กปท. L2524

อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ตำบลกาหลง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ ตำบลกาหลง
3.
หลักการและเหตุผล

ตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและการขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542และแผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๔๓ กำหนดให้ภารกิจด้านการสงเคราะห์ผู้ด้อยโอกาสการจัดสวัสดิการสังคม เป็นภารกิจที่ต้องถ่ายโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและอาจเลือกทำตามอำนาจหน้าที่ประกอบกับนโยบายของรัฐบาลที่ให้ความสำคัญด้านสังคมและคุณภาพชีวิตซึ่งเป็นหลักประกันด้านพื้นฐานของการบริการสาธารณะของรัฐ ดังนั้นองค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงจึงมีภารกิจเกี่ยวกับการให้บริการสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์แก่ผู้พิการผู้ป่วยเอดส์ผู้สูงอายุผู้ด้อยโอกาสผู้ยากไร้ผู้ประสบปัญหาทางสังคมให้สอดคล้องกับศักยภาพและบริบทความพร้อมด้านทรัพยากรชุมชนท้องถิ่นที่มีอยู่ซึ่งการจัดสวัสดิการสังคมในรูปแบบต่าง ๆต้องทำเป็นการทำงานแบบพหุภาคีรวมทั้งมีภารกิจตามอำนาจหน้าที่และมีอิสระในการปกครองตนเองในการจัดบริการสาธารณะเพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นการดำเนินงานเกี่ยวกับผู้สูงอายุถือเป็นภารกิจหนึ่งในอำนาจหน้าที่ที่จะต้องดำเนินการเพื่อส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุขององค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงในเรื่องการเตรียมความพร้อมการส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุการวางระบบคุมครองทางสังคมสำหรับผู้สูงอายุการบริหารจัดการองค์การบริหารส่วนตำบลกาหลง เพื่อการพัฒนางานด้านผู้สูงอายุการเผยแพร่องค์ความรู้ด้านผู้สูงอายุแนวทางการดำเนินการเกี่ยวกับผู้สูงอายุควรดำเนินการอย่างเป็นระบบเป็นไปตามภารกิจอำนาจหน้าที่ภารกิจตามแผนการถ่ายโอนและให้สอดคล้องกับแผนผู้สูงอายุแห่งชาติฉบับที่2(พ.ศ. 2545 - 2564) นั้น จากสถานการณ์ของสังคมโลกปัจจุบันโลกเรากำลังเปลี่ยนผ่านเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ(Aging Society) ซึ่งหมายความว่าโลกมีประชากรผู้สูงอายุอายุ65ปีขึ้นไป คิดเป็นร้อยละ7โดยพบว่าปี2555โลกมีประชากร7,058ล้านคนมีอายุ65ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ8หรือ565ล้านคนจากความก้าวหน้าด้านการแพทย์และสาธารณสุขของประเทศไทยอัตราการเกิดน้อยลงประชากรมีอายุยืนยาวมากขึ้นจะส่งผลให้ประชากรไทยคาดว่าอีก20ปีข้างหน้าประเทศไทยจะเป็นสังคมสู.วัยระดับยอดสูงสุดซึ่งหมายถึงมีสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุ65ปีขึ้นไปคิดเป็นร้อยละ20ขึ้นไปอาจกล่าวได้ว่าอีก10ปีข้างหน้า(2564)ประเทศไทยจะกลายเป็น“สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์” (Aged Society) และจากนั้นอีก10ปีประเทศไทยจะกลายเป็น“สังคมสูงวัยระดับยอดสูงสุด” (Supper - Aged Society) จากสภาพปัญหาและสถานการณ์ของผู้สูงอายุที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วมากส่งผลกระทบทางสุขภาพเศรษฐกิจสังคมโดยรวมการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคในผู้สูงอายุที่มีสุขภาพดีให้สุขภาพแข็งแรงเพื่อยืดเวลาที่จะเกิดการเจ็บป่วยให้หายหรืออาการทุเลาจากการเกิดความพิการหรือทุพพลภาพการยืดเวลาการเข้าสู่ภาวะทุพพลภาพออกไป สังคมผู้สูงอายุและพิการตลอดจนผู้ด้อยโอกาสในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงในปัจจุบันกำลังมุ่งเข้าสู่สังคมแห่งผู้สูงวัยทั้งนี้ผู้สูงอายุคนพิการตลอดจนผู้ด้อยโอกาสส่วนหนึ่งยังขาดการดูแลเอาใจใส่ถูกทอดทิ้งให้อยู่ตามลำพังหรืออยู่กับเด็กในวัยเรียนและก่อนวัยเรียนโดยบุตรหลานวัยทำงานต้องดิ้นรนออกไปทำงานนอกพื้นที่เพราะสภาพเศรษฐกิจในปัจจุบันเกิดการชะลอตัวค่าครองชีพเครื่องอุปโภคบริโภคมีราคาสูงรายได้ไม่เพียงพอกับรายจ่ายทำให้บุตรหลานไม่มีเวลาดูแลเอาใจใส่ผู้สูงอายุบางรายปล่อยให้ผู้สูงอายุดำเนินชีวิตอยู่เพียงลำพังด้วยเงินเบี้ยยังชีพเท่านั้นผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสหลายรายในสังคมมีโรคประจำตัวหรือต้องเป็นผู้ป่วยติดเตียงไม่มีโอกาสได้ออกมาทำกิจกรรมร่วมกับกลุ่มหรือชมรม ต่าง ๆ บางรายอาจเกิดความน้อยใจหรือหมดกำลังใจที่จะดำเนินชีวิตต่อไป คณะกรรมการบริหารจัดการศูนย์ ฯ องค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงจึงได้จัดทำโครงการจัดตั้งศูนย์ส่งเสริมฟื้นฟูและพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสองค์การบริหารส่วนตำบลกาหลงเพื่อเกิดการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและฟื้นฟูสภาพร่างกายให้แข็งแรงลดภาวะแทรกซ้อนและดำเนินการใช้ชีวิตได้อย่างปกติมีความสุขทั้งด้านร่างกายจิตใจสังคมทางปัญญาและสิ่งแวดล้อมต่อไป

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มี ADL น้อยว่า 11 คะแนน มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 4.00 เป้าหมาย 1.00
  • 2. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีภาวะพึ่งพิง(ADL น้อยว่า 11 คะแนน)ได้รับการจัดบริการดูแลระยาว ลดลง
    ขนาดปัญหา 4.00 เป้าหมาย 1.00
  • 3. เพื่อเพิ่มผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าต้องได้รับการดูแล
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 0.00 เป้าหมาย 1.00
  • 4. เพื่อแก้ปัญหาผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้สูงอายุที่มีภาวะแทรกซ้อนจากโรคเรื้อรัง ลดลง
    ขนาดปัญหา 60.00 เป้าหมาย 1.00
  • 5. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน
    ตัวชี้วัด : จำนวนผู้ช่วยเหลือ(CG)ที่มีทักษะการดูและช่วยเหลือผู้สูงอายุในชุมชน มีจำนวนเพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 1.00
  • 6. เพื่อเพิ่มจำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล
    ตัวชี้วัด : จำนวนบุคคลในครอบครัวที่มีความรู้ความเข้าใจและสามารถปฏิบัติต่อผู้สูงอายุที่ต้องได้รับการดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 1.00
  • 7. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่เสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุ มีจำนวนลดลง
    ขนาดปัญหา 50.00 เป้าหมาย 1.00
  • 8. เพื่อให้เกิดนโยบายสาธารณะเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : จำนวน สถานที่หรือพื้นที่สาธารณะที่มีสภาพแวดล้อมเอื้อต่อการใช้ชีวิตของผู้สูงอายุ เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 1.00
  • 9. เพื่อเพิ่มการอนุมัติและนำแผนการดูแลรายบุคคล(CP)ไปปฏิบัติ
    ตัวชี้วัด : แผนการดูแลรายบุคคล(CP) ที่ได้รับการอนมัติและดูแล เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 10.00 เป้าหมาย 1.00
  • 10. เพื่อเพิ่มการเข้าร่วมกลุ่ม/ชมรม ของผู้สูงอายุ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุมีกลุ่มหรือสังกัดชมรม เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 1.00
  • 11. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุทีมีความเสี่ยงเป็นโรคเบาหวาน ลงลด
    ขนาดปัญหา 70.00 เป้าหมาย 1.00
  • 12. เพื่อลดจำนวนผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงเป็นโรคความดันโลหิตสูง ลดลง
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 1.00
  • 13. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ผู้สูงอายุ ที่มีกิจกรรมทางกายเพียงพอ (150 นาทีต่อสัปดาห์) เพิ่มขึ้้น
    ขนาดปัญหา 20.00 เป้าหมาย 1.00
  • 14. เพื่อเพิ่มจำนวนผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหารปลอดภัยและเพียงพอ
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุ ที่มีการบริโภคอาหาร ผัก ผลไม้ เพื่อสุขภาพอย่างเพียงพอ เพิ่มขึ้น
    ขนาดปัญหา 80.00 เป้าหมาย 1.00
  • 15. เพื่อลด จำนวนผู้สูงอายุที่ติดการบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม
    ตัวชี้วัด : ร้อยละของผู้สูงอายุที่ชอบบริโภคอาหารหวาน มัน เค็ม ลดลง
    ขนาดปัญหา 30.00 เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. การเยี่ยมบ้านให้ความรู้ ให้คำแนะนำ ติดตามดูแลสุขภาพ
    รายละเอียด

    .1  ค่าถ่ายเอกสารแบบบันทึกการดูแลผู้สูงอายุ  เป็นเงิน  1,000  บาท 3.2  ค่าน้ำมันเชื้อเพลิงในการติดต่อประสานงาน  ตลอดระยะเวลาดำเนินการโครงการ  เป็นเงิน  5,000  บาท 3.3  ค่าจ้างเหมาจัดทำอุปกรณ์ฟื้นฟูสภาพ  ให้เหมาะสมแต่ละบุคคล  เช่น  ไม้, เชือก,  รอก, อุปกรณ์อื่น ๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการฟื้นฟูสุขภาพผู้ป่วยจัดเตรียมไว้ในศูนย์  เช่น  อุปกรณ์บริหารมือ,  กล้ามเนื้อแขน  และอุปกรณ์ทำกายภาพบำบัดต่าง ๆ  เป็นต้น  รวมเป็นเงิน  4,000  บาท
    รวมเป็นเงิน  10,000  บาท

    งบประมาณ 10,000.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2566 ถึง 31 ธันวาคม 2567

8.
สถานที่ดำเนินการ

พื้นที่ตำบลกาหลง ตำบลกาหลง อ.ศรีสาคร จ.นราธิวาส

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

11.1เกิดศูนย์ส่งเสริมฟื้นฟูพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุคนพิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่ 11.2ผู้สูงอายุผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสในพื้นที่มีความรู้ในการส่งเสริมดูแลสุขภาพตนเองมีสุขภาพดีทั้งร่างกายและจิตใจสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขสามารถออกมาร่วมกิจกรรมในสังคมและเข้าถึงบริการได้ 11.3ผู้สูงอายุกลุ่มติบ้านและติดเตียงได้รับการดูแลและชะลอการเกิดภาวะแทรกซ้อน 11.4ผู้สูงอายุผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสเห็นคุณค่าของชีวิตและพร้อมที่จะดำรงชีวิตต่อไป 11.5ผู้สูงอายุทีมีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลระยาวจากCare giverอย่างต่อเนื่อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง รหัส กปท. L2524

อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2567
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.กาหลง รหัส กปท. L2524

อำเภอศรีสาคร จังหวัดนราธิวาส

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................