2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัญหาด้านสุขภาพของเยาวชนในชุมชน เป็นปัญหาหนึ่งที่ต้องได้รับการแก้ไข ถึงแม้ว่ารัฐบาลจะมีนโยบายจัดทำบัตรสุขภาพถ้วนหน้า แต่สำหรับเยาวชนส่วนใหญ่มักจะไม่ดูแลหรือใส่ใจในสุภาพของตนเองมากนัก เมื่อมีปัญหาด้านสุขภาพมักจะไม่เข้าไปรับบริการในสถานพยาบาล ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตและสุขภาพของเยาวชน จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างเยาวชนของคนรุ่นใหม่ในชุมชน ให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการรณรงค์ป้องกันปัญหาสุขภาพของเยาวชนในชุมชนด้วยกันเองอย่างเป็นระบบ ต่อเนื่องและยั่งยืนด้วยบุคลากรชุมชนเอง โดยใช้รูปแบบของกิจกรรมนั้น จะนำไปสู่การพึ่งพาตนเองในการดูแลสุขภาพและส่งเสริมให้มีส่วนร่วมในการดูแลสุขภาพ
ดังนั้นสภาเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก จึงได้ตระหนักถึงปัญหาดังกลาว และเห็นว่าทุกภาคส่วนของสังคมควรมีบทบาทในการแก้ปัญหาร่วมกันการปล่อยให้เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่หรือหน่วยงานภาครัฐรับผิดชอบเพียงฝ่ายเดียวไม่เพียงพอ และจะทำให้ปัญหาสุขภาพรุนแรงขึ้นเรื่อย จึงได้ถือโอกาสจัดโครงการ“ส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชนตำบลมะรือโบออก”ขึ้น
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/10/2024
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ทำให้เยาวชนมีทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพและสามารถรณรงค์เผยแพร่ข้อมูลด้านสุขภาพแก่เด็กและเยาวชนและชุมชน
2. เยาวชนมีความรู้ ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของตนเอง
3. เยาวชนตระหนักถึงความสำคัญของการเห็นคุณค่าในสุขภาพของตนเองและสร้างความภาคภูมิใจ