2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
อาหารและโภชนาการเป็นพื้นฐานที่สำคัญยิ่งต่อสุขภาพ และคุณภาพชีวิตของประชากรในวัยต่าง ๆ โดยเฉพาะในเด็กปฐมวัยเป็นวัยที่อยู่ในระยะสำคัญของชีวิต เป็นวัยรากฐานของพัฒนาการ การเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดการเจริญเติบโตทั้งร่างกายจิตใจอารมณ์สังคมและสติปัญญาจึงเป็นวัยที่มีความสำคัญเหมาะสมที่สุดในการวางพื้นฐาน เพื่อยกระดับการพัฒนาคุณภาพชีวิต
การดำเนินงานแก้ไขปัญหาและส่งเสริมพัฒนาการเด็กโดยเจ้าหน้าที่เพียงฝ่ายเดียวไม่สามารถแก้ปัญหาให้ลดน้อยหรือหมดไปได้ จึงเล็งเห็นถึงความสำคัญในการส่งเสริมและพัฒนาความรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการตามวัยให้กับผู้ประกอบอาหารตามสถานศึกษาต่าง ๆ เข้ามามีส่วนร่วมในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็ก
ดังนั้นศูนย์แพทย์ใกล้ใจ 1 โรงพยาบาลสุไหงโก-ลก จึงได้จัดทำโครงการอบรมเรียนรู้ภาวะโภชนาการของผู้ประกอบอาหารในสถานศึกษา ตำบลสุไหงโก-ลก ประจำปี 2568 ขึ้น เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับอาหารและโภชนาการแต่ละช่วงอายุของเด็กในสถานศึกษา และพัฒนางานด้านสาธารณสุขอย่างต่อเนื่อง
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 13/01/2025
กำหนดเสร็จ 30/09/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
สามารถถัวเฉลี่ยได้ทุกรายการ
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1. ผู้ประกอบอาหารสามารถนำความรู้เรื่องภาวะโภชนาการในเด็กแต่ละช่วงวัยไปใช้ในสถานศึกษาเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
2. เด็กนักเรียนได้รับประทานอาหารที่มีประโยชน์ ครบถ้วนตามหลักโภชนาการ