กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
นักเรียนสุขภาพดี ฟันสวย ไม่มีเหา
2.
ชื่อ
check_box
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนวัดนิคมสถิต
3.
หลักการและเหตุผล

การดูแลความสะอาดของร่างกายในเด็กวัยเรียนเป็นสิ่งสำคัญ โดยเฉพาะอย่างยิ่งความสะอาดของศีรษะซึ่งหากหนังศีรษะไม่สะอาด จะส่งผลให้เกิดเหาที่คอยสร้างปัญหาก่อความรำคาญ อีกทั้ง คอยดูดเลือดเป็นอาหารบนหนังศีรษะไม่สะอาด เหามักจะระบาดและแพร่กระจายในกลุ่มนักเรียนก่อนประถมและประถมศึกษา ซึ่งอยู่ในช่วงอายุระหว่าง 3 - 12 ปี เหาเป็นโรคที่ก่อให้เกิดความรำคาญทำให้ขาดสมาธิในการเรียนและเป็นที่น่ารังเกียจของสังคม รวมทั้งก่อให้เกิดภาวะโลหิตจางที่ได้ด้วย ส่วนใหญ่นักเรียนที่เป็นเหามักเป็นผู้ที่มีสุขวิทยาส่วนบุคคลไม่ถูกต้องประกอบกับมีพื้นฐานทางเศรษฐกิจที่ฝืดเคือง เหาเป็นโรคที่รักษาได้ง่ายด้วยการดูแลรักษาความสะอาดของศีรษะอย่างสม่ำเสมอ แต่เนื่องจากเหาสามารถติดต่อกันได้ง่าย ทั้งระหว่างนักเรียนด้วยกันและนักเรียนกับบุคคลในครอบครัว การแก้ไขปัญหาเพื่อตัดวงจรการระบาดของโรคเหาในโรงเรียน คือต้องกำจัดเหาและปฎิบัติตนเองอย่างถูกต้องจริงจังเกี่ยวกับการรักษาความสะอาดของเส้นผมและหนังศีรษะ ทางโรงเรียนจึงเห็นความสำคัญที่ต้องกำจัดเหาในโรงเรียน และให้สุขศึกษาแก่นักเรียนเพื่อสุขภาอนามัยที่แข็งแรง จึงได้จัดทำโครงการกำจัดเหาในโรงเรียนขึ้น เพื่อรณรงค์กำจัดโรคเหาในนักเรียน โดยมุ่งหวังให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายเห็นความสำคัญของการดูแลรักษาความสะอาดของร่างกายและศีรษะ ที่จะช่วยป้องกันโรคเหาและลดการแพร่ระบาดของโรคเหาต่อไป สุขภาพช่องปากมีความสำคัญต่อสุขภาพของทุกคน โดยเฉพาะเด็ก โรคฟันผุในเด็กสามารถพบได้ตั้งแต่ฟันเริ่มขึ้นในช่วงขวบปีแรก สาเหตุหลักที่ทำให้เด็กฟันผุมาจากพฤติกรรมการเลี้ยงดูของผู้ปกครองที่ไม่ถูกต้องรวมถึงการดูแลทำความสะอาดช่องปากที่ไม่ถูกวิธี และมีพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่เหมาะสมทำให้เกิดโรคฟันผุในฟันน้ำนมอย่างรุนแรง
ตามหลักของการพัฒนาสุขภาพ สุขภาพของนักเรียนถือเป็นสิ่งสำคัญ การเลือกรับประทานอาหารถือเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิตที่ส่งผลต่อสุขภาพของนักเรียน ที่นอกจากรสชาติที่ดี ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในอาหาร เพราะหากอาหารนั้นมีสิ่งแปลกปลอม อาจจะทำให้เกิดอันตรายต่อผู้บริโภคได้ ควรให้การสนับสนุน ดูแลเฝฝ้าระวัง และป้องกันให้นักเรียนได้รับประทานอาหารที่ปลอดภัย มีคุณค่า ส่วนใหญ่การบริโภคอาหารของนักเรียนในพื้นที่จะปรุงอาหารตามใจ เป็นสำคัญ ทำให้เกิดความเสี่ยงในการเกิดโรค ดังนั้น ทางโรงเรียนได้ตระหนักถึงความสำคัญของอาหารที่คุณค่าทางโภชนาการและมีการปรับปรุงจากวัตถุดิบที่สะอาด ปลอดภัย ดังนั้น โรงเรียนวัดนิคมสถิตได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าว และเพื่อให้นักเรียนได้มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพ จึงได้เสนอโครงการ เพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลนาประดู่ สำหรับดำเนินโครงการดังกล่าว

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับความรู้เรื่องเหา การดูแลสุขภาพในช่องปากของตัวเอง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนได้รับความรู้เรื่องเหา การดูแลสุขภาพในช่องปากของตัวเอง
    ขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 63.00
  • 2. เพื่อให้นักเรียนทุกคนมีรู้จักดูแลสุขภาพของหนังศีรษะ การดูแลสุขภาพช่องปาก การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนมีรู้จักดูแลสุขภาพของหนังศีรษะ การดูแลสุขภาพช่องปาก การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง
    ขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 63.00
  • 3. เพื่อให้นักเรียนทุกคนสามารถกำจัดเหาของตัวเอง การดูแลความสะอาดของศีรษะตัวเอง และสามารถดูแลสุขภาพของช่องปากของตัวเองได้
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนสามารถกำจัดเหาของตัวเอง การดูแลความสะอาดของศีรษะตัวเอง และสามารถดูแลสุขภาพของช่องปากของตัวเองได้
    ขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 63.00
  • 4. เพื่อให้นักเรียนทุกคนรู้จักเลือกรับประทานที่ถูกหลักอนามัย
    ตัวชี้วัด : นักเรียนทุกคนรู้จักเลือกรับประทานที่ถูกหลักอนามัย
    ขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 63.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง การดูแลของฟันตนเอง การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง การดูแลของฟันตนเอง การเลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ และสาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี

    งบประมาณค่าใช้จ่าย ดังนี้

    • ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 ชม.ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน600.-บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน จำนวน 1 มื้อ ๆละ 35 บาท เป็นเงิน 2,625.-บาท

    • ค่าแปรงสีฟัน จำนวน 63 ด้าม ๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน1,260 บาท

    • ค่ายาสีฟัน จำนวน 63 หลอด ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 630 บาท

    • แก้วน้ำพลาสติก จำนวน 63 ใบ ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 945 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น 6,060 บาท

    งบประมาณ 6,060.00 บาท
  • 2. จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง เหาและการกำจัดเหา และกำจัดเหาให้นักเรียน
    รายละเอียด

    จัดอบรมให้ความรู้เรื่อง เหาและการกำจัดเหา และกำจัดเหาให้นักเรียน

    งบประมาณค่าใช้จ่าย ดังนี้

    • ค่าวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ ละ 2 ชม. ๆ ละ 300 บาทเป็นเงิน600 บาท

    • ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 75 คน ๆ ละ 1 มื้อ ๆ ละ 35 บาทเป็นเงิน2,625 บาท

    • ค่ายาเหา จำนวน 63 ชุด ๆ ละ 50 บาท (จำนวน 3 ครั้ง/คน)เป็นเงิน 3,150 บาท

    รวมเป็นเงินทั้งสิ้น6,375 บาท

    งบประมาณ 6,375.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน 16 คน

สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และกำจัดเหา

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน 47 คน

สาธิตการแปรงฟันที่ถูกวิธี และกำจัดเหา

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้องและวิทยากร 12 คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

โรงเรียนวัดนิคมสถิต

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 12,435.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. กลุ่มเป้าหมายสามารถดูแลสุขภาพของหนังศีรษะและสุขภาพช่องปากได้ และการเลือกรับประทานอาหารให้ถูกหลักอนามัย ถูกหลักโภชนาการและมีพฤติกรรมของสุขภาพอนามัยที่ถูกต้อง

  2. กลุ่มเป้าหมายที่ตรวจพบเหาได้รับการกำจัดเหา และนักเรียนที่มีฟันผุได้รับการดูแลฟันที่ถูกต้อง

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981

อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 12,435.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................