แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
1. นายตอเละ สะรีบู
2. นายรังสรรค์แบเลาะ
3. นายทองศรีแก้ว
4. นายจีรศักดิ์ อุดมลักษณเวทย์
5. นายบือเลาะ มะตาเยะ
โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน มีที่มาจากการตอบสนองต่อความต้องการที่เพิ่มขึ้นในการดูแลผู้สูงอายุในสังคมไทย ซึ่งมีอัตราการเพิ่มจำนวนประชากรสูงอายุอย่างรวดเร็ว การมีผู้สูงอายุจำนวนมากที่ติดเตียงหรือมีข้อจำกัดในการเคลื่อนไหวและไม่สามารถดูแลตนเองได้ ทำให้เกิดความจำเป็นที่จะต้องมีผู้ดูแลที่มีทักษะและความรู้เพียงพอในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุเหล่านี้หนึ่งในปัจจัยที่สำคัญคือการส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวหรือชุมชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการดูแลผู้สูงอายุอย่างถูกวิธี โดยโครงการนี้มุ่งเน้นการอบรมเพื่อพัฒนาทักษะการดูแลขั้นพื้นฐาน เช่น การเคลื่อนย้าย การให้ยาตามแพทย์สั่ง การจัดการสุขอนามัย รวมถึงการส่งเสริมการเยี่ยมเยียนเพื่อให้ผู้ป่วยไม่รู้สึกโดดเดี่ยว และลดความเสี่ยงจากภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโครงการนี้ยังสอดคล้องกับนโยบายของรัฐในการสนับสนุนการดูแลผู้สูงอายุที่บ้าน (Home Care) ซึ่งเน้นการให้บริการสุขภาพที่บ้านเพื่อให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี ลดภาระของโรงพยาบาล และทำให้ผู้สูงอายุสามารถใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรี จากการออกเยี่ยมผู้ป่วยเชิงรุกของเครือข่ายทุกภาคส่วนในตำบลมะรือโบออก พบผู้ป่วยเบาหวานความดันโลหิตสูงอัมพฤกษ์ อัมพาต ตลอดจนผู้พิการหลายรายช่วยเหลือตนเองไม่ได้ นอนติดเตียง มีแผลกดทับ บางรายมีอาการกล้ามเนื้อ อ่อนแรง การช่วยเหลือระยะแรก ใช้การแนะนำและสาธิตการทำกายภาพบำบัดให้แก่ผู้ดูแลซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต้องทำอย่างสม่ำเสมอและเป็นระยะเวลายาวนานต่อเนื่องกัน จึงจะเห็นถึงความเปลี่ยนแปลง ดังนั้นกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุจึงเล็งเห็นความสำคัญในการให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้ป่วยติดเตียงและการดูแลผู้สูงอายุติดบ้านที่เจ็บป่วยเรื้อรังไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้เพื่อให้ได้รับการดูแลอย่างถูกต้องและถูกวิธีกองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุจึงจัดทำ“โครงการอบรมผู้ดูแลและเยี่ยมเยียนผู้ป่วยติดเตียงผู้สูงอายุติดบ้านประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565นี้ขึ้น เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเหล่านี้มีสุขภาพที่ดีขึ้นไป
-
1. เพื่อให้ผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสมตัวชี้วัด : ร้อยละ 80 ของผู้ดูแลและสมาชิกครอบครัวมีความเข้าใจในการดูแลสุขภาพกายและจิตใจของผู้สูงอายุที่ติดบ้านและผู้ป่วยติดเตียงอย่างถูกต้องและเหมาะสมขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
-
2. เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วยติดเตียง ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานานตัวชี้วัด : ลดการเกิดแผลกดทับ ภาวะติดเชื้อ และปัญหาทางสุขภาพอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นกับผู้ป่วยที่ติดเตียงเป็นเวลานานขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
-
3. เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยวตัวชี้วัด : ส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง ช่วยให้ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงสามารถใช้ชีวิตอย่างมีคุณภาพ มีสุขภาพกายและจิตใจที่ดีขึ้น และลดความรู้สึกโดดเดี่ยวขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
-
4. เพื่อสร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นตัวชี้วัด : สร้างความตระหนักรู้และเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลผู้สูงอายุ สร้างความเข้าใจในชุมชนและสังคมเกี่ยวกับความสำคัญของการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียง เพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมที่มีประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นขนาดปัญหา 100.00 เป้าหมาย 80.00
- 1. กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้านรายละเอียด
กิจกรรมอบรมผู้ดูแลผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้าน 1.ค่าอาหารจำนวน 70 คนๆละ 60 บาทเป็นเงิน4,200บาท 2.ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 70 คน จำนวน 2 มื้อๆละ 25 บาท เป็นเงิน3,500บาท 3.ค่ากระเป๋า จำนวน 70 ใบๆละ 50 บาทเป็นเงิน3,500บาท 4.ค่าสมุดจำนวน 70 เล่มๆละ 15 บาท เป็นเงิน1,050บาท 5.ค่าปากกาจำนวน 50 ด้ามๆละ 5 บาท เป็นเงิน 250บาท 6.ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน3,600บาท
7.ค่าป้ายไวนิล ขนาด 1 เมตรX2 เมตรจำนวน 1 ป้าย (ตารางเมตรละ 250 บาท) เป็นเงิน 500บาทงบประมาณ 16,600.00 บาท - 2. กิจกรรมออกเยี่ยมบ้านผู้ป่วยติดเตียงและผู้สูงอายุติดบ้านรายละเอียด
- ค่าอาหารกลางวันสำหรับภาคีเครือข่ายจำนวน 20 คนมื้อละ 60 บาท 5 มื้อ เป็นเงิน 6,000บาท (คณะกรรมการศูนย์กองทุนสวัสดิการผู้สูงอายุตำบลมะรือโบออก, หน่วยบริการในพื้นที่, อสม. , อบต.มะรือโบออก , ผู้นำชุมชน , กลุ่มจิตอาสา เป็นต้น
งบประมาณ 6,000.00 บาท
ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ตำบลมะรือโบออก
รวมงบประมาณโครงการ 22,600.00 บาท
- ผู้เข้ารับการอบรมจะมีความรู้และทักษะที่จำเป็นในการดูแลผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งในด้านการดูแลทางกายภาพ สุขอนามัย โภชนาการ และสุขภาพจิต
- ผู้สูงอายุและผู้ป่วยติดเตียงจะมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดความเสี่ยงจากการเกิดแผลกดทับ ภาวะแทรกซ้อน และภาวะซึมเศร้า
- ส่งเสริมการสร้างเครือข่ายการดูแลในชุมชน โดยอาสาสมัครและสมาชิกในครอบครัวจะมีบทบาทในการเยี่ยมเยียนและดูแลผู้ป่วยติดเตียงอย่างต่อเนื่อง
- การเยี่ยมเยียนและการดูแลที่มีความใส่ใจจะช่วยเพิ่มความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ป่วย ครอบครัว และชุมชน ทำให้ผู้ป่วยรู้สึกไม่ถูกทอดทิ้งและลดความรู้สึกโดดเดี่ยว
- ผู้ดูแลจะมีความมั่นใจในการดูแลผู้ป่วยมากขึ้น รวมถึงมีทักษะในการรับมือกับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่อาจเกิดขึ้น ทำให้สามารถดูแลผู้ป่วยได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีความสุข
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.มะรือโบออก รหัส กปท. L2480
อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................