แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น
แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981
อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"
อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้
เด็กปฐมวัยถือเป็นช่วงวัยที่สำคัญที่สุดในชีวิต เด็กจึงควรได้รับการเลี้ยงดูเอาใจใส่อย่างใกล้ชิดและเหมาะสม เพื่อให้เด็กมีสุขภาพอนามัยที่สมบูรณ์และมีพัฒนาการตามวัย อย่างไรก็ตามจากสภาพการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันพบว่า เด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี มากกว่าร้อยละ 60 เป็นเด็กก่อนวัยเรียน ผู้ปกครองส่วนใหญ่ส่งเด็กเข้าศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก ซึ่งเป็นสถานที่ที่เด็กอยู่รวมกันเป็นจำนวนมาก เมื่อเจ็บป่วยจะสามารถแพร่กระจายเชื้อโรคสู่กันและกันได้ง่าย เนื่องจากเด็กเล็กมีภูมิต้านทานต่ำและยังไม่สามารถดูแลป้องกันตนเองเบื้องต้นได้มากเท่าที่ควร จึงป่วยติดต่อกันได้ง่าย ในช่วงฤดูฝน ทำให้สภาพอากาศมีการเปลี่ยนแปลง มีฝนตกชุกในบางพื้นที่ อากาศเริ่มเย็นลง และมีความชื้นสูงขึ้น เป็นสาเหตุทำให้โรคหลายชนิดสามารถแพร่ระบาดได้ง่ายและรวดเร็ว โรคที่สำคัญที่ต้องระมัดระวังเป็นพิเศษในฤดูฝน เช่น โรคติดต่อระบบทางเดินหายใจ โรคติดต่อระบบทางเดินอาหารและน้ำ โรคที่เกิดจากยุงและสัตว์ต่างๆ โรคติดเชื้อทางผิวหนัง และโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ตลอดจนอันตรายจากการจมน้ำและไฟฟ้าดูด ทางศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาประดู่เล็งเห็นถึงความสำคัญของปัญหาดังกล่าว จึงได้จัดทำโครงการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาประดู่ปลอดโรค ประจำปีงบประมาณ 2568 ขึ้น เพื่อให้ผู้เข้าร่วมโครงการได้ตระหนักถึงโรคที่อาจเกิดขึ้น เพื่อเฝ้าระวังและการป้องกันโรคที่อาจเกิดขึ้นได้
-
1. เพื่อให้ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดต่างๆ และร่วมกันควบคุมการเกิดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตัวชี้วัด : ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดต่างๆ และร่วมกันควบคุมการเกิดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขนาดปัญหา 73.00 เป้าหมาย 73.00
-
2. เพื่อเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดโรคระบาดต่างๆ ต่อเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตัวชี้วัด : มีการเฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดโรคระบาดต่างๆ ต่อเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กขนาดปัญหา 73.00 เป้าหมาย 73.00
-
3. เพื่อลดอัตราการเกิดโรคระบาดต่างๆ ในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตัวชี้วัด : อัตราการเกิดโรคระบาดต่างๆ ในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็กลดลงขนาดปัญหา 63.00 เป้าหมาย 63.00
- 1. อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็กรายละเอียด
อบรมให้ความรู้แก่ผู้ปกครองเกี่ยวกับการควบคุมโรคติดต่อในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ค่าตอบแทนวิทยากร จำนวน 1 คน ๆ จำนวน 6 ชม. ๆ ละ 300 บาท เป็นเงิน1,800 บาท
ค่าอาหารกลางวันพร้อมเครื่องดื่ม (ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และวิทยากร) จำนวน 74 ชุด ๆ ละ 60 บาท เป็นเงิน 4,440 บาท
ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม (ผู้ปกครอง ครูผู้ดูแลเด็ก และวิทยากร) จำนวน 74 ชุด ๆ ละ 35 บาท จำนวน 2 มื้อ เป็นเงิน 5,180 บาท
ค่าจ้างเหมาจัดทำป้ายโครงการ ขนา 1.2 x 4 เมตร จำนวน 1 ป้าย เป็นเงิน 960 บาท
ค่าถ่ายเอกสารประกอบการอบรม จำนวน 74 ชุด ๆ ละ 15 บาท เป็นเงิน 1,110 บาท
ค่าวัสดุเครื่องเขียนและอุปกรณ์ เช่น ปากกา สมุด ฯลฯ จำนวน 63 ชุด ๆ ละ 30 บาท เป็นเงิน 1,890 บาท
รวมเป็นเงิน 15,380 บาท
งบประมาณ 15,380.00 บาท
วิทยากร จำนวน 1 คน
ตั้งแต่ วันที่ 1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลนาประดู่
รวมงบประมาณโครงการ 15,380.00 บาท
ผู้ปกครองและครูผู้ดูแลเด็กมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคระบาดต่างๆ และร่วมกันควบคุมการเกิดโรคในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
เฝ้าระวังและป้องกันไม่ให้เกิดโรคระบาดต่างๆ อันจะมีผลต่อเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ลดอัตราการเกิดโรคระบาดต่างๆ ในเด็กศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก
ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้
- check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
- check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
- check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ
(............................................................)
ตำแหน่ง ............................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981
อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น
หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ
จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ
(...........................................................)
ตำแหน่ง ...............................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................
แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
กองทุนสุขภาพตำบล อบต.นาประดู่ รหัส กปท. L2981
อำเภอโคกโพธิ์ จังหวัดปัตตานี
ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้
(....................................................................)
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม
วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................
ตำแหน่ง ....................................................................
วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................