กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว รหัส กปท. L1482

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการคีตะมวยไทยเพื่อสุขภาพ
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
โรงเรียนบ้านหนองหว้า
กลุ่มคน
นางสาวชนิกานต์คลังข้อง
นางสาวอนงค์นาฏมีสัตย์
3.
หลักการและเหตุผล

จากนโยบายของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทย เพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทุกภาคมีส่วนร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ใช้พื้นที่เป็นพื้นฐาน บูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ และเน้นการมีส่วนร่วม สื่อสาธารณะ สร้างความสามัคคีและความแข็งแรงทางจิตใจ มีสำนึกสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้ประชาชน อายุ 6 ปี ขึ้นไปเคลื่อนไหวออกแรงกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ตอบสนองนโยบายดังกล่าว การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดชื่น ดังคำกล่าว ที่ว่าจิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง (A Sound mind in a sound body) แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้าจิตใจที่เข้มแข็ง จะเกิดพลังหรือกำลังใจทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น มวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ประจำชาติที่พัฒนาการเป็นกีฬาของโลกและเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าต่อบุคคล สังคม โดยรวมทั้งภายในและต่างประเทศ บุคคลที่ฝึกมวยไทยจะมีพัฒนาการทางกายอารมณ์สังคม จิตใจและสติปัญญา สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข กิจกรรมการชกมวยไทยเป็นกิจกรรมทางสังคมร่วมกันหลายๆ คน เมื่อมีการแข่งขันในโอกาสต่างๆ ย่อมเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการ สนุกสนานไปด้วยกัน มวยไทยสำคัญต่อประเทศชาติโดยประเทศไทยได้ใช้วิชามวยไทยปกป้องการรุกรานจากชาติอื่นๆ พระเจ้าตากสินและทหารกล้าใช้วิชามวยไทยกอบกู้ราชบัลลังก์จากพม่า ประชาชนทั้งชายและหญิง ต้องฝึกหัดจนชำนาญ เพื่อใช้ในการต่อสู้กับข้าศึกผู้รุกราน จนกลายเป็นวิถีชีวิตของคนไทยซึ่งมีการสืบทอดมวยโบราณแต่ละสายตามท้องที่นั้น ๆ โดยมีสายสำคัญหลัก ๆ เช่น มวยท่าเสา (ภาคเหนือ) มวยโคราช (ภาคอีสาน) มวยไชยา (ภาคใต้) มวยลพบุรีและมวยพระนคร (ภาคกลาง) มีคำกล่าวไว้ว่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” มวยไทยจึงเป็นมรดกของชาวโลกที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย ช่วยทำให้ชาติมั่นคงความมั่นคงทางวัฒนธรรมนี้เป็นความมั่นคงของชาติโดยเฉพาะด้านเอกลักษณ์ไทยถือว่าเป็นทุนทางสังคมร่วมกันที่หล่อหลอมบุคลิกภาพรวมใจของคนไทยให้เข้ามาอยู่ด้วยกัน มวยไทยจึงจัดเป็นสื่อในการสร้างทุนทางสังคมวัฒนธรรมได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย(สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2540) และปัจจุบันมวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ที่ผู้คนทั่วโลกให้การสนใจและฝึกฝน จนกระทรวงวัฒนธรรม ได้ขึ้นทะเบียนมวยไทย เป็นมรดกภูมิปัญญาของชาติ ในสาขาวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 นอกจากเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่าที่ช่วยให้ผู้ฝึกมีระเบียบวินัยในตนเอง มีน้ำใจนักกีฬา มีความมานะอดทน และมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดี ซึ่งวัยเด็กเป็นวัยกำลังเจริญเติบโต การดูแลควรให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัย จึงจะเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้น แต่การที่จะให้เด็กพัฒนาได้เต็มศักยภาพจริงเด็กต้องมีการบริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งโดยลักษณะอุปนิสัยทางธรรมชาติของเด็กมักมีความซุกซน และยิ่งเป็นระยะที่เด็กมีพัฒนาการในอัตราเร่งสูง เด็กจะชอบเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง เช่น กระโดดโลดเต้น กอดปล้ำกัน เล่นชกต่อย กัน เล่นวิ่งไล่จับกัน เป็นต้น จนบางครั้งผู้ใหญ่เป็นห่วงเกรงว่าเด็กเจ็บป่วยเนื่องจากเล่นเหนื่อยมาก จึงห้ามเด็กเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง แต่แท้ที่จริงการเล่นออกกำลังกายเป็นประโยชน์และเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เด็กพัฒนาการสมส่วนตามวัยได้เต็ม ศักยภาพ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะผู้จัดทำโครงการจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายในวัยเด็กและต้องการที่จะอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้ประจำชาติ จึงได้นำการออกกำลังกายแบบคีตะมวยไทยซึ่งเป็นหลักการและเหตุผล
จากนโยบายของรัฐบาลที่จะส่งเสริมให้คนไทยมีสุขภาพดี ภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ "รวมพลังสร้างสุขภาพเพื่อคนไทย เพื่อให้คนไทยแข็งแรง เมืองไทยแข็งแรง" โดยมีวัตถุประสงค์ให้ทุกภาคมีส่วนร่วมดำเนินการอย่างเป็นระบบต่อเนื่องภายใต้ยุทธศาสตร์ที่ใช้พื้นที่เป็นพื้นฐาน บูรณาการทุกภาคส่วน สร้างกระบวนการเรียนรู้ และเน้นการมีส่วนร่วม สื่อสาธารณะ สร้างความสามัคคีและความแข็งแรงทางจิตใจ มีสำนึกสาธารณะ นอกจากนี้ยังมีเป้าหมายที่สำคัญของมิติทางกายคือให้ประชาชน อายุ 6 ปี ขึ้นไปเคลื่อนไหวออกแรงกำลังกายอย่างสม่ำเสมอเพื่อสุขภาพ ซึ่งกระทรวงสาธารณสุข โดยกรมอนามัยได้ตอบสนองนโยบายดังกล่าว การส่งเสริมการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพและกีฬา จะทำให้ร่างกายแข็งแรง จิตใจสดชื่น ดังคำกล่าว ที่ว่าจิตใจที่งดงามย่อมอยู่ในร่างกายที่แข็งแรง (A Sound mind in a sound body) แสดงว่าร่างกายกับจิตใจมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก ร่างกายแข็งแรง จิตใจเบิกบานหรือในทางกลับกัน ถ้าจิตใจที่เข้มแข็ง จะเกิดพลังหรือกำลังใจทำให้ร่างกายแข็งแรงขึ้น มวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ประจำชาติที่พัฒนาการเป็นกีฬาของโลกและเป็นสิ่งที่ทรงคุณค่าต่อบุคคล สังคม โดยรวมทั้งภายในและต่างประเทศ บุคคลที่ฝึกมวยไทยจะมีพัฒนาการทางกายอารมณ์สังคม จิตใจและสติปัญญา สามารถปรับตัวอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข กิจกรรมการชกมวยไทยเป็นกิจกรรมทางสังคมร่วมกันหลายๆ คน เมื่อมีการแข่งขันในโอกาสต่างๆ ย่อมเป็นกิจกรรมการออกกำลังกายและนันทนาการ สนุกสนานไปด้วยกัน มวยไทยสำคัญต่อประเทศชาติโดยประเทศไทยได้ใช้วิชามวยไทยปกป้องการรุกรานจากชาติอื่นๆ พระเจ้าตากสินและทหารกล้าใช้วิชามวยไทยกอบกู้ราชบัลลังก์จากพม่า ประชาชนทั้งชายและหญิง ต้องฝึกหัดจนชำนาญ เพื่อใช้ในการต่อสู้กับข้าศึกผู้รุกราน จนกลายเป็นวิถีชีวิตของคนไทยซึ่งมีการสืบทอดมวยโบราณแต่ละสายตามท้องที่นั้น ๆ โดยมีสายสำคัญหลัก ๆ เช่น มวยท่าเสา (ภาคเหนือ) มวยโคราช (ภาคอีสาน) มวยไชยา (ภาคใต้) มวยลพบุรีและมวยพระนคร (ภาคกลาง) มีคำกล่าวไว้ว่า “หมัดหนักโคราช ฉลาดลพบุรี ท่าดีไชยา ไวกว่าท่าเสา” มวยไทยจึงเป็นมรดกของชาวโลกที่เกิดจากภูมิปัญญาของคนไทย ช่วยทำให้ชาติมั่นคงความมั่นคงทางวัฒนธรรมนี้เป็นความมั่นคงของชาติโดยเฉพาะด้านเอกลักษณ์ไทยถือว่าเป็นทุนทางสังคมร่วมกันที่หล่อหลอมบุคลิกภาพรวมใจของคนไทยให้เข้ามาอยู่ด้วยกัน มวยไทยจึงจัดเป็นสื่อในการสร้างทุนทางสังคมวัฒนธรรมได้อย่างยั่งยืนอีกด้วย(สำนักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ. 2540) และปัจจุบันมวยไทยเป็นศิลปะการต่อสู้ที่ผู้คนทั่วโลกให้การสนใจและฝึกฝน จนกระทรวงวัฒนธรรม ได้ขึ้นทะเบียนมวยไทย เป็นมรดกภูมิปัญญาของชาติ ในสาขาวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2553 นอกจากเป็นศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยมือเปล่าที่ช่วยให้ผู้ฝึกมีระเบียบวินัยในตนเอง มีน้ำใจนักกีฬา มีความมานะอดทน และมีสมรรถภาพทางร่างกายที่ดี ซึ่งวัยเด็กเป็นวัยกำลังเจริญเติบโต การดูแลควรให้เด็กได้รับอาหารที่มีคุณค่าและเหมาะสมกับวัย จึงจะเป็นสิ่งสำคัญในการส่งเสริมพัฒนาการของเด็กให้ดียิ่งขึ้น แต่การที่จะให้เด็กพัฒนาได้เต็มศักยภาพจริงเด็กต้องมีการบริหารร่างกายอย่างสม่ำเสมอ ซึ่งโดยลักษณะอุปนิสัยทางธรรมชาติของเด็กมักมีความซุกซน และยิ่งเป็นระยะที่เด็กมีพัฒนาการในอัตราเร่งสูง เด็กจะชอบเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง เช่น กระโดดโลดเต้น กอดปล้ำกัน เล่นชกต่อย กัน เล่นวิ่งไล่จับกัน เป็นต้น จนบางครั้งผู้ใหญ่เป็นห่วงเกรงว่าเด็กเจ็บป่วยเนื่องจากเล่นเหนื่อยมาก จึงห้ามเด็กเล่นในสิ่งที่ต้องใช้กำลัง แต่แท้ที่จริงการเล่นออกกำลังกายเป็นประโยชน์และเป็นองค์ประกอบสำคัญที่ทำให้เด็กพัฒนาการสมส่วนตามวัยได้เต็ม ศักยภาพ จากหลักการและเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะผู้จัดทำโครงการจึงได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการออกกำลังกายในวัยเด็กและต้องการที่จะอนุรักษ์ศิลปะการต่อสู้ประจำชาติ จึงได้นำการออกกำลังกายแบบคีตะมวยไทยซึ่งเป็นกิจกรรมที่ผสมผสานระหว่างการเต้นแอโรบิคกับกีฬามวยไทย มาเป็นรูปแบบที่ใช้ในการจัดกิจกรรมทางกายให้กับนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองหว้า โดยมีการจัดอบรมให้ความรู้ตั้งแต่ระดับชั้นอนุบาลจนถึงระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนบ้านหนองหว้าเห็นความสำคัญของการออกกำลังกาย
    ตัวชี้วัด : แบบสำรวจความพึงพอใจ
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
  • 2. นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนบ้านหนองหว้ามีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
    ตัวชี้วัด : แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย ก่อน - หลัง
    ขนาดปัญหา เป้าหมาย 1.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. กิจกรรมอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพแก่ นักเรียนและบุคลากรในโรงเรียนบ้านหนองหว้า
    รายละเอียด
    1. ค่าอาหารกลางวัน 35 บาท x 117 คน = 4,095
    2. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม 25 บาท x 117 คน = 2,925 บาท   จำนวน 2 มื้อ 2,925 x 2 = 5,850
    3. แบบประเมินความพึงพอใจในการอบรม
        117 ชุด x 2 บาท = 234 บาท
    4. ค่าไวนิลโครงการขนาด 1.5 x 3 เมตร จำนวน 1 ผืน
        ราคา 680 บาท
    5. เล่มรายงานโครงการ 3 เล่ม x 100  =  300 บาท
    6. ค่าตอบแทนวิทยากร 1 คน 6 ชั่วโมง = 3,600 บาท
    งบประมาณ 14,759.00 บาท
  • 2. กิจกรรมออกกำลังกายด้วยคีตะมวยไทย
    รายละเอียด

    1.ประเจียด + มงคลถัก + เชือกพันมือรำมวย
        ชุดละ 890 x 2 ชุด = 1,780

    งบประมาณ 1,780.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

ตำบลทุ่งยาว

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 16,539.00 บาท

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  1. เพื่อเพิ่มกิจกรรมทางกายของนักเรียนโรงเรียนบ้านหนองหว้า
    1. เพื่อให้นักเรียนมีสมรรถภาพทางกายที่ดีขึ้น
    2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนการสืบสานศิลปะการต่อสู้ประจำชาติให้นักเรียนโรงเรียนบ้านหนองหว้า
11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว รหัส กปท. L1482

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ทุ่งยาว รหัส กปท. L1482

อำเภอปะเหลียน จังหวัดตรัง

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 16,539.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................