กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการห่วงใยใสใจโรคเรื้อรัง ชุมชนบ้านท่ามาลัย ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.ปากน้ำ

ชมรมอาสาสมัครประจำหมู่บ้าน

1.นายอัสรุต กองบก

2.นางบัดสาระ องศารา

3.นางทัศนีย์พรขุนเศษ

4.นางสริตา สลับแสง

5.นางหอดีย๊ะ หมันเล๊ะ

หมู่ที่6 บ้านท่ามาลัย ตำบลปากน้ำ อำเภอละงู จังหวัดสตูล

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 บ้านท่ามาลัยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วชึ่งมีผลกระจากกระแสการเปลี่ยนแปลงของสังคมทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมการสื่อสารและการคมนาคมการเทคโนโลยีที่ทันสมัยชึ่งการเปลี่ยนแปลงดังมีผลกระทบต่อวิถีชีวิตและด้านสุขภาพของประชน

 

100.00

หลักการและเหตุผล
สถานการณ์ปัจจุบันหมู่ 6บ้านท่ามาลัยมีครัวเรือนทั้งหมด 339 ครัวเรือนมีจำนวนประชากรทั้งหมด 1,106 คน เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วชึ่งมีผลกระทบจากกระแยสังคมและการเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจทำให้คนในชุมชนไม่ค่อยเอาใจใสสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัวเท่าที่ควรจะเห็นได้จากการบริโภคอาหารและการออกกำลังกายกินรสเหวาน มัน เค็มและน้ำอัดลมขายดีมากที่วางขายในร้านในชุมชน สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดโรคเบาหวาน ความดัน ไขมันในเหลือด กับคนในชุมชนปีละ5 ถึง 10 คนในแต่ละปี มีกลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดโรค จำนวน 30 คนในการคัดกร่อง ปีละ 1 ครั้ง ปีที่ผ่านมามี กลุ่งเสี่ยง 30 คน ที่เกิดโรค 5 คนที่จะต้องส่งต่อเจ้าหน้าที่ รพสต.ดำเนินการประเมินสุขภาพต่อไป สาเหตุของคนในชุมชนบ้านท่ามาลัยรักความสุขสบายไม่ค่อยออกกำลังกายและไม่ค่อยเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารสวนใหญ่กินรสหวาน มัน เค็มของทอดเสียสวนใหญ่จะเห็นได้ในเวลาทำนูรี ทำบุญอะไรก็จะทำแกงกระทินำหน้าไม่ค่อยทำแกงเลียงดังนั้นทางชมรมอสม.ประจำหมู่ 6 กระหนักและห่วงใยสุขภาพของคนในชุมในเรื่องของโรคเรื้อรังทำอย่างไรให้โรคเหล่านี้ลดน้อยลงและการจัดชื้ออุปกรณ์ทางการแพทย์เพื่อให้อสมได้ให้บริการคัดกร่องเบื้องต้นในการให้บริการตรวจวัดความดันและเจาะเลือดเพื่อหาค่าน้ำตาลในเลือดให้บริการก่อนผู้ป่วยไปพบหมอที่รพหรือที่รพสต จึงได้จัดทำโครงการห่วงใยใสใจโรคเรื้อรังในชุมชนเสนอกองทุนหลักประกันสุขภาพ ต่อไป

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อลดการเกิดผู้ป่วยโรคเรื้อรังใหม่ในชุมชน

ร้อยละจำนวนผู้ป่วยโรคเรื้อรังรายใหม่ไม่เพิ่มขึ้นเกิน ร้อยละ5 ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

100.00 0.00
2 เพื่อให้อสม.ใช้เครื่องมือในการค้นหาและรายงานปัญหาสุขภาพได้ถูกต้องทันท่วงที่

ผู้ป่วยมีความรู้ความเข้าใจมากขึ้น

100.00 0.00
3 เพื่อให้คนในชุมชนใช้บริการตรวจหาค่าของความดันเเละเจาะตรวจเลือดรู้ค่าของระดับนำ้ตาล

ร้อยละของผู้ป่วยจะได้รู้ระดับน้ำตาลในเลือดและระดับความดันของตนเองก่อนจะไปพบแพทย์

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน 100
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้สูงอายุ 50

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/11/2024

กำหนดเสร็จ 31/01/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัววิธีการให้ความรู้เชิงรุกในชุมชนส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมายการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัววิธีการให้ความรู้เชิงรุกในชุมชนส่งเสริมการมารับบริการคัดกรองของประชาชนกลุ่มเป้าหมายการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและแก้ปัญหาโรคเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ 60 คนx 35 บาท =2,100 บาท

-ค่าป้ายโครงการ 1x2 เมตร = 600 บาท

-ค่าวิทยากร2 คน ซม.ละ 600 x 6ซม.600 บาท= 3,600 บาท

-ค่าสถานที่ =500 บาท

-ค่าอาหารกลางวัน 1 มื้อ 60คนx100 =6,000 บาท

-ค่าอุปกรณ์การอบรมมีสมุดบันทึก 60 เล่มละ 5 บาทx 60 เล่ม=300 บาท

-ปากกา60 ด้ามลX 5 บาท= 300 บาท

-กระเป้า60 ใบX 50 บาท= 3,000 บาท

รวม 16,400 บาท

กำหนดการ

กิจกรรมอบรมให้ความรู้ความเข้าใจในการดูแลตนเองและสมาชิกในครอบครัววิธีการให้ความรู้เชิงรุกในชุมชนส่งเสริมการมารับบริการคัดกร่องประชาชนกลุ่มเป้าหมายการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพและการแก้ไข ปัญหาโรคเรื้อรัง สถานที่ มัสยิดบ้านท่ามาลัย

เวลา 08.00 น - 09.00 น ลงทะเบียนอสม.รับผิดชอบ

เวลา 09.30น - 10.00 น พิธีเปิดโครงการโดย นายอัสรุต กองบก

เวลา10.00 น.- 10.15 น รับประทานอาหารว่าง

เวลา 10.45 -12.00 น บรรยายเรื่องดูแลสุขภาพตนเองและสมาชิกในครอบครัวและการออกกำลังกายโดยนางสาวสุนิษางะสมัน

เวลา 12.00 น- 13.00 น รับประทานอาหารกลางวัน

เวลา 13.00 น-15.30.00 น บรรยายเรื่องการใช้ภูมิปัญญาด้านสมุนไพรเพื่อดูแลสุขภาพสและการแก้ไขปัญหาโรคเรื้อรังโดยนางรัตนา สอแหละ

เวลา15.30น - 16.00 .น รับประทานอาหารว่างกลับบ้านปิดโครงการ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คนในชุมชน100 ละ มีความรู้ความเข้าใจในการดูแลสุขภาพตนเองและครอบครัวและรู้จักการใช้สมุนไพรในการดูแลสุขภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
16400.00

กิจกรรมที่ 2 คัดกร่องความดันโลหิตสูงและเบาหวานให้กลุ่มเป้าหมายงจำนวน 150 คนงดอาหารและเครื่องดื่มทั้งแต่2 ทุ่ม วิธีการให้กลุม่เป้าหมายวัยทำงาน35 ปีและและผู้สูงอายุมาคัดกร่องให้สมาชิกอสม.มีการเชิญชวนแกนนำในเขตตนเองรับผิด ทั้งหมด 18 เขตมามารับบริการคัดกรอง

ชื่อกิจกรรม
คัดกร่องความดันโลหิตสูงและเบาหวานให้กลุ่มเป้าหมายงจำนวน 150 คนงดอาหารและเครื่องดื่มทั้งแต่2 ทุ่ม วิธีการให้กลุม่เป้าหมายวัยทำงาน35 ปีและและผู้สูงอายุมาคัดกร่องให้สมาชิกอสม.มีการเชิญชวนแกนนำในเขตตนเองรับผิด ทั้งหมด 18 เขตมามารับบริการคัดกรอง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

-ค่าอุปกรณ์การคัดกร่องเบาหวานและความดันโลหิตสูง เครื่องวัดความดัน จำนวน 2 เครื่อง x 2500 =5000 บาท

-ค่าอูปกรณ์เจาะน้ำตาลในเลือดพร้อมห้วเจาะ จำนวน 2 เครื่อง x2500 บาท= 5000 บาท

-ค่าอาหารว่าง 1 มื้อ 150 คนx 35 บาท 5250 บาท

-ค่าสถานที่ =500 บาท

-ค่าสรุปรายงานเข้าเล่ม = 500 บาท

รวม16250 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 31 มกราคม 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ร้อยละ คนในชุมชนมาใช้บริการคัดกร่องความดันและเบาหวานในคัดกร่องจะได้รู้กลุ่มเสี่ยงมีจำนวนทเท่าไรกลุ่มที่ไม่เป็นเบาหวานจำนวนจำนวนเท่าไรคนเป็นเบาหวามหรือความดันจำนวนเท่าไรจะได้มีการส่งต่อให้กับรพสต.

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
15750.00

กิจกรรมที่ 3 อบรมส่งเสริมรณณรงค์การใช้สมุนไพรในครัวเรือน

ชื่อกิจกรรม
อบรมส่งเสริมรณณรงค์การใช้สมุนไพรในครัวเรือน
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ส่งเสริมรณณรงค์การใช้สมุนไพรในการรักษาโรคเรื้อรังความดันเบาหวานโดยใช้สมุนไพรในครัวเรือนสร้างกลไกลแก่นนำครอบครัวปลูกพืชสมุนไพรไว้ครอบครัวปลอดโรค ครอบครัวต้นแบบส่งเสริมการปลูกสมุนไพรไว้รักษาปรับสภาพแวดล้อมในครัวเรือนมีการแปรรูปสมุนไพร และทำแบบการประเมินในครัวเรือนและมีการประเมินการดูแลสุขภาพกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมอบรม ออกแบบทำสมุดประเมินสุขภาพ 3 เดือนครั้ง

-ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 150 คน X 35 บาท x 2 มื้อเป็นเงิน 10,500บาท

-ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 150 คน X 100 บาท x1 มื้อเป็นเงิน 15,000บาท

-ค่าสมุดประเมินสุขภาพ จำนวน 150 เล่มๆละ 15 บาทเป็นเงิน 2,250 บาท

-ค่าวิทยการ จำนวน 6 ชั่วโมงๆละ 600 บาท เป็นเงิน 3,600 บาท

-ค่าวัตดุดิบในการแปรรูป (ขิง ตะใค้ร ใบเตย ผักเคล เสาวรส)เป็นเงิน 1,000 บาท

รวมเป็นเงิน 32,350บาท

กำหนดการส่งเสริมการใช้น้ำสมุนไพรแปรรูปรักษาโรคเรื้อรัง

ลงทะเบียน เวลา8.00น-9.00น

เปิดโครงการโดยนายอัสรัตกองบก เวลา9.30น.

รับประทานอาหารว่าง

บรรยายเรื่องการใช้สมุนไพรในการรักษาโรคสมุนไพรชนิดต่างๆโดยนางนันทิตาหมาดบากา 9.30น-12.00น

พักรับประทานอาหารกลางวัน

เวลา13.00น-14.00นแปรรูปสมุนไพรโดยนางนันทิตา หมาดบากา

เวลา14.00น-16.00น.วางแผนการลงส่งเสริมการปลูกสมุนไพรครัวเรือนต้นแบบ ครัวเรือนปลอดโรคและลงติดตามให้อสม.ดำเนินการติดตามประเมินสุขภาพ3เดือนครั้งโดยให้อสม.ดำเนินการคัดเลือกครอบครัวต้นแบบจากการคัดกร่องและผู้เข้าร่วม

รับอาหารว่างเดินทางกลับ

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 พฤศจิกายน 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

 

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
32350.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 64,500.00 บาท

หมายเหตุ :
ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1คนในชุมชนไ้ด้มีความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองและคนในครอบครัวได้มีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริโภคอาหาร พฤติกรรมการออกกำลังกายและการใช้ยาสมุนไพรรักษาโรค

2 อสม.ได้ใช้เครื่องมือแพทย์ในการให้บริการตรวจน้ำตาลในเลือดและวัดความดันโลหิตสูง

3 คนในชุมชนได้มาใช้บริการเบื้องต้นก่อนไปพบแพทย์


>