กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบเสนอโครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่น

กปท.7

แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 17 (2) "ให้พิจารณาอนุมัติโครงการ หรือกิจกรรม ให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกองทุนตามข้อ 10"

อาศัยอำนาจของประกาศ ฯ ข้อ 10 "เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ" จึงได้จัดทำแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568 โดยมีรายละเอียด ดังนี้

1.
ชื่อ
check_box_outline_blank
แผนงาน
check_box
โครงการ
check_box_outline_blank
กิจกรรม
โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568
2.
ชื่อ
check_box_outline_blank
หน่วยงาน
check_box_outline_blank
องค์กร
check_box_outline_blank
กลุ่มประชาชน
ชมรม อสม.รพ.สต.คลองแงะ
กลุ่มคน
-นางสาวฝีเหย๊าะ เอียดหนัน
-นางกรรณิการ์ พรุเพชรแก้ว
-นางโฉม บุญยอด
-นางนฤมล สวนอินทร์
-นางลำดวน อินไยทอง
3.
หลักการและเหตุผล

ปัจจุบันนี้ร้านขายของชำในหมู่บ้านถือได้ว่าเป็นแหล่งกระจายสินค้าประเภทต่างๆ ให้แก่ผู้บริโภคในพื้นที่ ซึ่งส่วนใหญ่นิยมจับจ่ายใช้สอยเครื่องอุปโภคและบริโภคจากร้านขายของชำภายในหมู่บ้าน ไม่ว่าจะเป็นอาหาร เครื่องสำอาง ยา ของใช้ต่างๆ ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์เกี่ยวกับสุขภาพทั้งสิ้นและยังพบว่ามีการจำหน่ายสินค้าที่ไม่ได้คุณภาพ มาตรฐาน และไม่ปลอดภัยต่อผู้บริโภคในชุมชน เช่นยาผสมสารสเตียรอย เครื่องสำอางมีสารอันตราย อาหารมีสารปนเปื้อนเจือปนอยู่ ซึ่งอาจส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพผู้บริโภค โดยมีปัจจัยต่างๆ เช่น การโฆษณาชวนเชื่อ การให้ข้อมูลที่ไม่ตรงกับความเป็นจริงหรือระดับการรับรู้ของบุคคลย่อมมีผลต่อพฤติกรรมการบริโภคของบุคคลทั้งสิ้น หากผู้บริโภคมีความรู้และทักษะในการเลือกสินค้าที่ถูกต้องก็จะได้สินค้าที่มีคุณภาพ และมีความปลอดภัยสูง พื้นที่เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะ อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา เป็นอีกหนึ่งตำบลที่ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพในภาคเกษตรกรรม โดยคิดเป็นร้อยละ 46 มีพื้นที่ที่ใช้ในการเกษตรมากถึงร้อยละ 80 ของพื้นที่ทั้งหมด ซึ่งประกอบด้วยพื้นที่ทำสวน เช่น สวนยาง สวนปาล์ม สวนผลไม้ พื้นที่ทำไร่ทำนา และปลูกพืชผักตลอดทั้งปี ผลกระทบจากการใช้สารเคมีในการควบคุมและกำจัดศัตรูพืชจึงกระจายและขยายเป็นวงกว้าง และยังอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงอยู่ จากข้อมูลการสัมภาษณ์ผู้ที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม พบว่าเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทรยังคงมีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอยู่เป็นจำนวนมาก มีการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชอย่างไม่ถูกวิธีและขาดความรู้ในการใช้ จึงทำให้มีผลกระทบกับด้านสุขภาพโดยตรง ดังนั้นโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลท่าหมอไทร จึงเล็งเห็นความสำคัญของสุขภาพเกษตรกรในตำบลท่าหมอไทร จึงได้จัดทำโครงการเกษตรกรปลอดภัย ห่างไกลสารเคมีขึ้น เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้และนำไปสู่การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้องและเหมาะสม อีกทั้งยังได้รับการตรวจหาระดับปริมาณสารเคมีตกค้างในเลือดเพื่อทำการเฝ้าระวังและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้สารเคมีให้ถูกต้องและเหมาะสม จากการตรวจหาระดับสารเคมีในเลือดปี 2567 ในกลุ่มเป้าหมาย 44 ราย พบว่าผลมีความเสี่ยง จำนวน 17 คน ผลไม่ปลอดภัย จำนวน 14 คน จากผลการตรวจดังกล่าวทำให้ชมรม อสม.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลคลองแงะจึงจัดทำ โครงการคัดกรองสารพิษ ชีวิตปลอดโรค ผู้บริโภคปลอดภัย รพ.สต.คลองแงะ ปี 2568 ขึ้น

4.
วัตถุประสงค์(เพื่อการจัดบริการสร้างเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค ฟื้นฟูสมรรถภาพ และรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก รวมถึงการจัดกระบวนการหรือกิจกรรมเพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ และการป้องกันโรค)
  • 1. เพื่อพัฒนาและยกระดับร้านชำและแผงลอยจำหน่ายอาหารให้ได้มาตรฐาน
    ตัวชี้วัด : ร้อยละ ของร้านอาหาร/แผงลอย/ร้านชำในพื้นที่ผ่านเกณฑ์มาตรฐานร้านชำและสุขาภิบาลอาหาร
    ขนาดปัญหา 24.00 เป้าหมาย 100.00
  • 2. เพื่อเฝ้าระวังความเสี่่ยงจากการประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม
    ตัวชี้วัด : จำนวนประชาชนกลุ่มเสี่ยงจากการประกอบอาชีพด้านการเกษตรมีความรู้และได้รับการตรวจคัดกรองสุขภาพ
    ขนาดปัญหา 17.00 เป้าหมาย 100.00
5.
วิธีดำเนินการ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)
  • 1. ประชุมแผนงาน
    รายละเอียด

    จัดประชุมเจ้าหน้าที่คณะทำงาน จำนวน 12 คน เพื่อพูดคุย วางแผน ปรึกษาหารือแนวทางในการทำงาน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 12 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 300 บาท

    งบประมาณ 300.00 บาท
  • 2. เตรียมสื่ออุปกรณ์และวัสดุในการจัดกิจกรรม
    รายละเอียด

    2.ค่าวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในโครงการ - เอกสารการอบรม จำนวน 100ชุด ๆ ละ 11 บาท เป็นเงิน 1,100 บาท - ปากกา จำนวน 100 ชิ้น ๆ ละ 10 บาท เป็นเงิน 1,000 บาท

    งบประมาณ 2,100.00 บาท
  • 3. อบรมเชิงปฏิบัติการกลุ่มเกษตรกร
    รายละเอียด

    1.อบรมเชิงปฏิบัติการแก่เกษตรกร และผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับความเสี่ยงในการประกอบอาชีพ การบริโภคอาหาร การป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย เพื่อลดความเสี่ยงต่อการประกอบอาชีพและการบริโภค 1.1 ค่าวิทยากรจำนวน 3 ชั่วโมง ๆ ละ 600 บาท เป็นเงิน 1,800 บาท - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม ( 1 มื้อ ) สำหรับประชาชนกลุ่มเป้าหมาย จำนวน 100 คน คนละ 25บาท เป็นเงิน 2,500.-บาท

    งบประมาณ 4,300.00 บาท
  • 4. ออกตรวจและให้คำแนะนำแก่ผู้ประกอบการร้านชำประจำปีและให้คำแนะนำ
    รายละเอียด

    4.1 ออกตรวจร้านชำ ร้านอาหารแผงลอย ใช้แบบประเมินมาตรฐานร้านชำ และร้านอาหารแผงลอย - ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม สำหรับคณะทำงาน จำนวน 20 คน 1 มื้อ มื้อละ 25 บาท เป็นเงิน 500 บาท

    งบประมาณ 500.00 บาท
  • 5. แลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ
    รายละเอียด

    1.กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้การป้องกันตนเองเพื่อลดความเสี่ยงจากการประกอบอาชีพ -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่มผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 2 มื้อ x 50 ชุด x 25 บาท เป็นเงิน 2,500 บาท

    งบประมาณ 2,500.00 บาท
  • 6. สรุปผลดำเนินโครงการ
    รายละเอียด

    จัดประชุมเจ้าหน้าที่คณะทำงาน จำนวน 12 คน เพื่อสรุปผลการดำเนินงาน -ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 12 คน จำนวน 1 มื้อๆละ 25บาท เป็นเงิน 300 บาท

    งบประมาณ 300.00 บาท
6.
กลุ่มเป้าหมาย และกิจกรรม(เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
6.1. กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด จำนวน คน

6.2. กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน จำนวน คน

6.3. กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน จำนวน คน

6.4. กลุ่มวัยทำงาน จำนวน คน

6.5. กลุ่มผู้สูงอายุ จำนวน คน

6.6. กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง จำนวน คน

6.7. กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ จำนวน คน

6.8. กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง จำนวน คน

6.9. สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)] จำนวน คน

7.
ระยะเวลาดำเนินการ(ควรระบุตามการดำเนินงานจริง)

ตั้งแต่ วันที่ 1 มีนาคม 2568 ถึง 31 ธันวาคม 2568

8.
สถานที่ดำเนินการ

หมู่ที่ 2,4,7,8 และ 11

9.
งบประมาณ(ให้สอดคล้องกับวิธีดำเนินการ ที่ตั้งไว้ตามข้อ 5)

รวมงบประมาณโครงการ 10,000.00 บาท

หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถัวเฉลี่ยกันได้

10.
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ให้สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้ตามข้อ 4)

1.ร้านขายของชำผ่านเกณฑ์ร้านชำติดดาว 2.แผงลอยจำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานสุขาภิบาลอาหาร 3.เกษตรกรและผู้บริโภคมีความรู้ความเข้าใจ ในการดูแลสุขภาพของตนเอง และการป้องกันสารเคมีเข้าสู่ร่างกาย

11.
คำรับรองความซ้ำซ้อนของงบประมาณ

ข้าพเจ้า ................................................................ ตำแหน่ง.................................................... หน่วยงาน................................................................................ หมายเลขโทรศัพท์......................................................... ในฐานะของผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ขอรับรองว่า แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ที่เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ ในครั้งนี้

  • check_box_outline_blank ไม่ได้ซ้ำซ้อนกับงบประมาณที่ได้รับจากแหล่งอื่น
  • check_box_outline_blank สอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน ของ กปท.
  • check_box_outline_blank รับทราบถึงกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ และวิธีการดำเนินงานตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม แล้ว


ลงชื่อ............................................................ผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................
- เห็นชอบ/อนุมัติ
- ให้เสนอขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนหลักประกันสุขภาพ


ลงชื่อ............................................................หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

      (............................................................)

ตำแหน่ง ............................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................

กปท.8

แบบเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
เรื่อง ขอเสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ 2568
เรียน ประธานกรรมการกองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว
เอกสารแนบ แบบจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม (แบบ กปท.7) จำนวน 1 ชุด

ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ.2567 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ข้อ 10 “เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพตามข้อ 7 วรรคหนึ่ง ให้ใช้จ่ายเพื่อสนับสนุนและส่งเสริมเป็นค่าใช้จ่ายตามแผนงาน โครงการ หรือกิจกรรม ที่คณะกรรมการกองทุนอนุมัติ” นั้น

หน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ได้ดำเนินการจัดทำแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม มาเพื่อขอรับการสนับสนุนงบประมาณ กปท. ตามเอกสารแนบ

จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาอนุมัติ

ลงชื่อ .................................................. หัวหน้าหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน

(...........................................................)

ตำแหน่ง ...............................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ......................................

กปท.9

แบบอนุมัติแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

กองทุนสุขภาพตำบล อบต.น้ำขาว รหัส กปท. L8399

อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

วัน...........เดือน............................................ พ.ศ. ............
ผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม

ตามมติการประชุมคณะกรรมการกองทุนหลักประกันสุขภาพ ครั้งที่ ....................... เมื่อวันที่ .................................................... สรุปผลการพิจารณาแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ดังนี้

1. ความสอดคล้องกับแผนสุขภาพชุมชน
check_box_outline_blank
สอดคล้อง
check_box_outline_blank
ไม่สอดคล้อง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
2. ความซ้ำซ้อนของงบประมาณกองทุน ฯ กับงบประมาณจากแหล่งอื่น
check_box_outline_blank
ซ้ำซ้อน
check_box_outline_blank
ไม่ซ้ำซ้อน
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
3. ความเสี่ยงจากผลประโยชน์ทับซ้อน
check_box_outline_blank
เสี่ยง
check_box_outline_blank
ไม่เสี่ยง
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
4. เป็นหน่วยงาน/องค์กร/กลุ่มประชาชน ที่มีสิทธิขอรับงบประมาณ (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
5. ประเภทการสนับสนุน (ตามประกาศ ฯ พ.ศ. 2567 ข้อ 10) (เลือกเพียง 1 ข้อ)
6.งบประมาณที่เสนอ จำนวน 10,000.00 บาท
check_box_outline_blank
อนุมัติงบประมาณ เนื่องจากแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
check_box_outline_blank
ประชาชนได้รับผลประโยชน์
check_box_outline_blank
ตรงตามวัตถุประสงค์ของกองทุนฯ
check_box_outline_blank
ผู้รับผิดชอบงานมีศักยภาพ
check_box_outline_blank
ค่าใช้จ่ายมีความคุ้มค่า
จึงเห็นควรสนับสนุน เป็นเงิน จำนวน ........................................ บาท
ความเห็นเพิ่มเติม..................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ไม่อนุมัติงบประมาณ
เพราะ...................................................................................................................................................
check_box_outline_blank
ให้รายงานผลการดำเนินงานแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม
ภายในวันที่................................................(ตามแบบฟอร์ม ฯ กปท.10)
check_box_outline_blank
ให้ อปท. แจ้งผู้เสนอแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ทราบผล เพื่อดำเนินการ ต่อไป
ลงชื่อ ....................................................................

(....................................................................)

ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบการประชุม

วันที่-เดือน-พ.ศ. ....................................................

ลงชื่อ ....................................................................

ตำแหน่ง ....................................................................

วันที่-เดือน-พ.ศ. ..................................................