กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการส่งเสริมความรอบรู้ด้านการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพในผู้ป่วยโรคเรื้อรังปี 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนสุขภาพตำบล เทศบาลตำบลบ้านนา

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน

ผู้รับผิดชอบโครงการ นางรัชนี ปราบปัญจะ ตำแหน่ง เจ้าพนักงานสาธารณสุขชำนาญงาน

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง หมู่ที่ 2,4,7,10 และ 12 ตำบลบ้านนา อำเภอศรีนครินทร์ จังหวัดพัทลุง

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานโรคเรื้อรัง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด
1 ร้อยละของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน

 

4.00

กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ไต) พยายามสรรหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ ที่จะมารักษาอาการของโรคเหล่านั้น สิ่งเหล่านี้ล้วนเป็นอันตรายต่อผู้ป่วยดังกล่าวทั้งสิ้นกลุ่มผู้ป่วยเรื้อรัง ตลอดจนผู้บริโภค โดยเฉพาะผู้บริโภคจะเป็นผู้ได้รับผลกระทบโดยตรงจากการใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านั้น หากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ไม่มีคุณภาพ ลอกเลียนแบบ เจือปนสารอันตรายลงไป หรือหากบริการสุขภาพนั้นไม่ได้มาตรฐานจะทำให้ผู้บริโภคได้รับผลกระทบต่อสุขภาพจนอาจทำให้เสียชีวิตได้โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านลำใน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญดังกล่าวในข้างต้น จึงจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ เพื่อการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากอาหารเสริม ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณผลิตภัณฑ์สุขภาพ ให้ได้มาตรฐาน โดยมุ่งหวังที่จะให้ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง ได้มีความตระหนักถึงความสำคัญของการดำเนินด้านการคุ้มครองผู้บริโภค เพื่อให้ผู้บริโภคได้ใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ปลอดภัย

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 1.เพื่อลดการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาในผู้ป่วยโรคเรื้อรัง

1.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังได้รับความรู้เรื่องการใช้ยาอาหารเสริม
ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณผลิตภัณฑ์สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา

2.ร้อยละ 80 ของผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรอบรู้จากการสำรวจพฤติกรรมการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น

40.00 80.00
2 2.ผู้ป่วยโรคเรื้อรังมีความรอบรู้ในการสำรวจพฤฤติกรรมการใช้ยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้น

ผู้ป่วยเรื้อรังมีความรอบรู้เรื่องการในการใช้ยายาและผลิตภััณฑ์สุขภาพเพิ่มขึ้นร้อยละ 80

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]
กลุ่มเป้าหมายจำแนกเพิ่มเติม
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง 100

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 15/01/2025

กำหนดเสร็จ 15/08/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/สำรวจและประเมินการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร อาหารเสริม ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณเรื้อรัง

ชื่อกิจกรรม
อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง/สำรวจและประเมินการใช้ผลิตภัณฑ์สุขภาพอาหาร อาหารเสริม ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณเรื้อรัง
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ
  1. ประชุมชี้แจงโครงการ แนวทางการดำเนินงานให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
  2. จัดทำแผนงานโครงการเพื่อเสนอขอรับงบประมาณสนับสนุน
  3. ดำเนินการตามแผนงานโครงการ

3.1 อบรมให้ความรู้ผู้ป่วยโรคเรื้อรังเรื่องอาหารเสริม ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณ จำนวน 100 คน จำนวน 2 รุ่น ๆละ 50 คน

รุ่นที่ 1 วันที่ 13 มีนาคม 2568 กลุ่มเป้าหมาย 50 คน สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำใน

งบประมาณ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อ ๆละ 35 บาทเป็นเงิน 3,500 บาท

  1. ค่าอาหารกลางวัน 50 คน ๆ ละ1 มื้อๆละ80 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

    3.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน ๆละ 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาทรวมเป็นเงิน 3,000 บาท

รวมงบประมาณรุ่นที่ 1 จำนวนเงิน 10,500 บาท

ตารางอบรม รุ่นที่ 1 วันที่ 13 มีนาคม 2568

08.30 น.- 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 น.- 10.00 น. สำรวจการใช้ยา แต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ อาหารเสิรม และผลิตภัณฑ์สุขภาพก่อนการอบรม 10.00 น.- 11.00 น. ความรู้เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 11.00 น.- 12.00 น. ความรู้เรื่อง ประเภทของยาแต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ 12.00 น.- 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.- 14.00 น. ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาแต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ อาหารเสิรม และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
14.00 น.- 15.00 น. ความรู้เรื่อง เครื่องหมายสุขภาพ อย./มอก./ใบจดแจ้ง
15.00 น.- 16.30 น.ความรู้เรื่อง เครื่องหมายสุขภาพในสินค้าบริโภค พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30 น.และ 14.30 น.

รุ่นที่ 2 วันที่ 10 เมษายน 2568กลุ่มเป้าหมาย 50 คน สถานที่ ห้องประชุม รพ.สต.บ้านลำใน งบประมาณ 1. ค่าอาหารว่างและเครื่องดื่ม จำนวน 50 คนๆละ 2 มื้อ ๆละ 35 บาทเป็นเงิน 3,500 บาท

  1. ค่าอาหารกลางวัน 50 คน ๆ ละ1 มื้อๆละ80 บาท เป็นเงิน 4,000 บาท

    3.ค่าสมนาคุณวิทยากร จำนวน 1 คน ๆละ 5 ชั่วโมงๆละ 600 บาทรวมเป็นเงิน 3,000 บาท

รวมงบประมาณรุ่นที่ 2 จำนวนเงิน 10,500 บาท

ตารางอบรม รุ่นที่ 2 วันที่ 10 เมษายน 2568 08.30 น.- 09.00 น. ลงทะเบียน 09.00 น.- 10.00 น. สำรวจการใช้ยา แต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ อาหารเสิรม และผลิตภัณฑ์สุขภาพก่อนการอบรม 10.00 น.- 11.00 น. ความรู้เรื่อง ผลิตภัณฑ์อาหาร อาหารเสริม ผลิตภัณฑ์สุขภาพ 11.00 น.- 12.00 น. ความรู้เรื่อง ประเภทของยาแต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ 12.00 น.- 13.00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน 13.00 น.- 14.00 น. ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยาแต่ละชนิด ยาชุด ยาหม้อ ยาสมุนไพร ยาลูกกลอน ยาแผนโบราณ อาหารเสิรม และผลิตภัณฑ์สุขภาพ
14.00 น.- 15.00 น. ความรู้เรื่อง เครื่องหมายสุขภาพ อย./มอก./ใบจดแจ้ง
15.00 น.- 16.30 น.ความรู้เรื่อง เครื่องหมายสุขภาพในสินค้าบริโภค

พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30 น.และ 14.30 น.

3.3ติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน เมื่อสิ้นสุดโครงการ พร้อมรายงานผลการดำเนินงาน

3.4ปรับปรุง พัฒนาจากผลการดำเนินงาน เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน / โครงการต่อไป

ระยะเวลาดำเนินงาน
13 มีนาคม 2568 ถึง 10 เมษายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ผู้ป่วยโรคเรื้องรังมีความรอบรู้เรื่องการใช้ยาอาหารเสริม
ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณผลิตภัณฑ์สุขภาพ ลดภาวะแทรกซ้อน

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
21000.00

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 21,000.00 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง (ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมัน ไต )มีความรอบรู้เรื่องการใช้ยาอาหารเสริม
2. ยาชุด ยาลูกกลอน ยาต้ม ยาสมุนไพร ยาหม้อ ยาแผนโบราณผลิตภัณฑ์สุขภาพ (จากการสำรวจ)ลดภาวะแทรกซ้อนจากการใช้ยา


>