2. ความสอดคล้องกับแผนงาน
3. สถานการณ์
ปัจจุบันนี้ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลบานามีน้ำหนักเกินเกณฑ์ และมีโรคเรื้อรังจำนวนหลายคน เนื่องจากพฤติกรรมการดำรงชีวิต เช่นการรับประทานอาหาร การทำงานที่ไม่ได้เคลื่อนไหวร่างกาย เป็นต้น จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องส่งเสริมให้ประชาชนออกกำลังกายเพิ่มขึ้น ซึ่งการออกกำลังกายด้วยการเดินวิ่ง เป็นอีกหนึ่งทางเลือกในการออกกำลังกายที่ง่ายสะดวกและลงทุนน้อยเหมาะสำหรับทุกเพศทุกวัย ซึ่งการเดินวิ่งที่ถูกต้องและสม่ำเสมอใช้เวลาเพียงไม่กี่นาทีแต่กลับสร้างเสริมสุขภาพที่แข็งแรงของเราได้ในระยะยาว เช่น ป้องกันการเกิดโรคหัวใจลดลดความเสี่ยงต่อการมีระดับ cholesterol ในเลือดสูงได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมองได้ ลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน ป้องกันภาวะสมองเสื่อม เสริมสร้างกระดูกและกล้ามเนื้อให้แข็งแรง ช่วยให้นอนหลับได้ดีขึ้น อีกทั้งยังช่วยให้ร่างกายหลั่งฮอร์โมนแห่งความสุข คือ serotonin ซึ่งช่วยลดอาการซึมเศร้า ความวิตกกังวลและความเครียดได้อีกด้วย
ชมรมเดินวิ่ง จึงได้จัดโครงการเดิน วิ่ง เพื่อสุขภาพ ขึ้น เพื่อส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคแก่ประชาชนในเขตพื้นที่ตำบลบานา
4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด
- บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
- ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
5. กลุ่มเป้าหมาย
6. ระยะเวลาดำเนินงาน
วันเริ่มต้น 01/04/2025
กำหนดเสร็จ 31/10/2025
7. วิธีการดำเนินงาน
- กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
- งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด
หมายเหตุ :
8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง
ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?1.ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่งมีสุขภาพร่างกายแข็งแรง
2.สามารถลดความเสี่ยงของการเกิดโรคเรื้อรังแก่ผู้เข้าร่วมออกกำลังกายด้วยการเดิน-วิ่งได้