กองทุนสุขภาพตำบล - กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น - กปท

แบบฟอร์มพัฒนาโครงการ กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

1. ชื่อโครงการ/กิจกรรม

โครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ปีงบประมาณ 2568

ชื่อโครงการควรสั้น กระชับ เข้าใจง่าย และสื่อสาระของสิ่งที่จะทำอย่างชัดเจน ควรจะระบุชื่อชุมชนในชื่อโครงการเพื่อความสะดวกในการค้นหา

กองทุนหลักประกันสุขภาพองค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน

ชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลวังประจัน

1.นางอาซีซ๊ะ ละใบโดย

2.นางกอดาน๊ะเหมสลาหมาด

3.นายมูฮัมหมัดอัสลาม เต๊ะสมัน

4.นางสาวนัฐฌารูบามา

5.นางสุวรรณี ลิงาลาห์

ตำบลวังประจัน

2. ความสอดคล้องกับแผนงาน

แผนงานเผชิญภัยพิบัติและโรคระบาด , แผนงานกลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีความเสี่ยง

3. สถานการณ์

สถานการณ์ปัญหาขนาด

การดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีวัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนการจัดบริการสาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรค การฟื้นฟูสมรรถภาพและการรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิเชิงรุก ที่จำเป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิตของประชาชนในชุมชนหรือท้องถิ่นและตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์เพื่อสนับสนุนให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นดำเนินงานและบริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ พ.ศ. 2567 ข้อ 10 (5) เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมกรณีโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็นเหมาะสมและทันสถานการณ์ได้ โดยกรณีเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ให้คณะกรรมการกองทุนพิจารณาอนุมัติจ่ายเงินกองทุน เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมกิจกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาสาธารณสุขได้ตามความจำเป็น เหมาะสมและทันต่อสถานการณ์

ดังนั้นเพื่อให้การดำเนินงานมีความสอดคล้องตามประกาศคณะกรรมการฯ และสอดคล้องกับนโยบายเร่งด่วนขององค์การบริหารส่วนตำบลวังประจัน ด้านการป้องกันและบรรเทาอุทกภัย สาธารณพิบัติต่างๆชมรมอาสาสมัครสาธารณสุขตำบลวังประจัน ได้เล็งเห็นถึงความสำคัญของการป้องกันภัยพิบัติที่จะเกิดขึ้น จึงได้จัดทำโครงการป้องกันและควบคุมโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2568 ขึ้น เพื่อเตรียมความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติในพื้นที่ก็จะสมารถช่วยลดความรุนแรง ความสูญเสียจากโรคระบาดหรือภัยพิบัติได้ทันท่วงที

ระบุสถานการณ์ หลักการและเหตุผล หรือ ที่มาของการทำโครงการ เพิ่มเติม

4. วัตถุประสงค์และตัวชี้วัด

  • บอกจุดมุ่งหมายในการดำเนินงานโครงการ และสิ่งที่ต้องการให้เกิดผลจากการดำเนินงานโครงการ วัตถุประสงค์นี้จะต้อง เฉพาะเจาะจง วัดได้จริง แสดงโอกาสที่จะเกิดผลสำเร็จ สอดคล้องกับหลักการและเหตุผล ในระยะเวลาที่กำหนด
  • ตัวชี้วัด ให้ระบุความชัดเจนว่า เมื่อดำเนินการตามโครงการเสร็จแล้ว จะเกิดการเปลี่ยนแปลงหรือบรรลุผลสำเร็จอะไรบ้างและมากน้อยเพียงใด และควรแสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงเป็นรูปธรรมวัดผลได้ และระบุตัวชี้วัดความสำเร็จของโครงการทั้งในระดับผลผลิตและผลลัพธ์ที่สอดคล้องกับวัตถุประสงค์
วัตถุประสงค์ / ตัวชี้วัดความสำเร็จขนาดเป้าหมาย 1 ปี
1 เพื่อเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคระบาดหรือภัยพิบัติในชุมชน

ความร่วมมือของคนในชุมชน

0.00

5. กลุ่มเป้าหมาย

กลุ่มเป้าหมายจำนวน(คน)
กลุ่มเป้าหมายจำแนกตามช่วงวัย
กลุ่มเด็กเล็กและเด็กก่อนวัยเรียน
กลุ่มเด็กวัยเรียนและเยาวชน
กลุ่มวัยทำงาน
กลุ่มผู้สูงอายุ
กลุ่มเป้าหมายจำแนกกลุ่มเฉพาะ
กลุ่มหญิงตั้งครรภ์และหญิงหลังคลอด
กลุ่มผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
กลุ่มคนพิการและทุพพลภาพ
กลุ่มประชาชนทั่วไปที่มีภาวะเสี่ยง
สำหรับการบริหารหรือพัฒนากองทุนฯ [ข้อ 10(4)]

6. ระยะเวลาดำเนินงาน

วันเริ่มต้น 01/10/2024

กำหนดเสร็จ 30/09/2025

7. วิธีการดำเนินงาน

  • กิจกรรม แสดงขั้นตอนการทำกิจกรรมและกระบวนการดำเนินงาน เขียนให้ละเอียดว่าจะทำอะไร อย่างไร จึงจะสำเร็จตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที่วางไว้ เขียนให้เห็นลำดับเป็นขั้นเป็นตอน
  • งบประมาณ ในแต่ละกิจกรรม ขอให้จำแนกรายการค่าใช้จ่ายต่างๆ โดยละเอียด

กิจกรรมที่ 1 ประชุมเพื่อแก้ปัญหาและเตรียมความพร้อมรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติในชุมชน ขั้นเตรียมการระยะก่อนเกิดภัย

ชื่อกิจกรรม
ประชุมเพื่อแก้ปัญหาและเตรียมความพร้อมรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติในชุมชน ขั้นเตรียมการระยะก่อนเกิดภัย
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

ประชุมคณะทำงาน และผู้ที่เกี่ยวข้องเพื่อหาแนวทางช่วยเหลือแก้ปัญหาพื้นที่

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่มจำนวน 4 ครั้งๆละ 1 มื้อๆละ 40 คนๆละ 30 บาทเป็นเงิน 4,800 บาท
ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

คณะทำงานเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและมีความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
4800.00

กิจกรรมที่ 2 ส่งเสริมสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อป้องกันและควบคุมโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ระยะเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชนเพื่อป้องกันและควบคุมโรคระบาดหรือภัยพิบัติ ระยะเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนททราบ

2.ดำเนินงานลงพื้นที่ส่งเสริมให้ความรู้ ป้องกันควบคุมโรค และรักษาพยาบาลเชิงรุกให้กลุ่มเป้าหมาย

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 วันๆละ 1 มื้อๆละ 50 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

  • ค่าป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ จำนวน 5 ป้ายๆละ 300 บาท เป็นเงิน 1,500 บาท

  • ค่าวัสดุและอุปกรณ์ เป็นเงิน 5,000 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
9500.00

กิจกรรมที่ 3 ส่งเสริมสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ระยะหลังเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ

ชื่อกิจกรรม
ส่งเสริมสุขภาพประชาชนและสิ่งแวดล้อมในชุมชน ระยะหลังเกิดโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
รายละเอียดกิจกรรม/งบประมาณ/อื่นๆ

1.ส่งเสริมความรู้ผู้ประสบภัย ในการปฏิบัติตัวที่ถูกต้องลดความเครียดจากภาวะที่ได้รับผลกระทบต่อสุขภาพ

2.ส่งเสริมการปรับสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม

3.ประชุมสรุปผลการดำเนินงานและหาแนวทางการแก้ไข

4.สรุปผลการดำเนินงาน

  • ค่าอาหารว่างพร้อมเครื่องดื่ม จำนวน 2 วันๆละ 1 มื้อๆละ 50 คนๆละ 30 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท

  • ค่าวัสดุและอุปกรณ์ เป็นเงิน 3,197 บาท

ระยะเวลาดำเนินงาน
1 ตุลาคม 2567 ถึง 30 กันยายน 2568
ผลผลิต (Output) / ผลลัพธ์ (Outcome)

ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับส่งเสริมและป้องกันควบคุมโรค หรือการช่วยเหลือผลกระทบทางสุขภาพ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้สามารถดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ

จำนวนเงินงบประมาณของกิจกรรม (บาท)
6197.31

งบประมาณโครงการ

จำนวนงบประมาณที่ต้องการสนับสนุน จำนวน 20,497.31 บาท

หมายเหตุ :

8. ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง

ผลจากการดำเนินโครงการท่านคาดว่าจะเกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

1. คณะทำงานเข้าใจสถานการณ์ที่เกิดขึ้นและมีความพร้อมในการรับมือกับโรคระบาดหรือภัยพิบัติ
2. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับการช่วยเหลือ สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ตามอัตภาพ
3. ประชาชนที่ได้รับผลกระทบได้รับส่งเสริมและป้องกันควบคุมโรค หรือการช่วยเหลือผลกระทบทางสุขภาพ จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนให้สามารถดำรงชีวิตเป็นอย่างปกติ


>